การค้นหาขั้นสูง
ผู้เยี่ยมชม
5932
อัปเดตเกี่ยวกับ: 2554/12/21
 
รหัสในเว็บไซต์ fa15684 รหัสสำเนา 19934
หมวดหมู่ تاريخ بزرگان
คำถามอย่างย่อ
เพราะสาเหตุอันใด อับดุลลอฮฺ บิน ญะอฺฟัรจึงไม่ได้ร่วมเดินทางไปกัรบะลาพร้อมท่านอิมามฮุซัยนฺ (อ.)?
คำถาม
เพราะสาเหตุอันใด อับดุลลอฮฺ บิน ญะอฺฟัรจึงไม่ได้ร่วมเดินทางไปกัรบะลาพร้อมท่านอิมามฮุซัยนฺ?
1.ด้วยเหตุผลที่ว่า อับดุลลอฮฺ ตาบอด ถือว่าไม่ถูกต้อง,เนื่องจากรายงานกล่าวว่าเมื่อกองคาราวานเดินทางกลับจากกัรบะลาอฺนั้น อัลดุลลอฮฺ จำท่านหญิงซัยนับไม่ได้ ซึ่งเขาเห็นว่านั่นเป็นสตรีที่หมดสภาพและหมดอาลัยตายยาก
2.อับดุลลอฮฺ มีอายุมากเข้าสู่วัยชรา ก็ไม่อาจเป็นเหตุผลได้, เนื่องจากฮะบีบ และเอาสะญะฮฺ หรืออะนัสก็มีวัยชราเช่นเดียวกัน ขณะที่อิมามซัจญาด (อ.) ไม่สบายก็ได้เดินทางรวมขบวนไปด้วย
3.จากสิ่งที่กล่าวมาทั้งหมดนี้, อาจกล่าวได้ว่าอับดุลลอฮฺต้องการความปลอดภัยจากบนีอุมัยยะฮฺ ด้วยสาเหตุที่ว่า เป็นอุปสรรคและต้องการปกปักอิมามจากการยืนหยัด, ถามว่ายังมีผู้สงสัยในฐานะภาพของอับดุลลอฮฺ อีกหรือ?
คำตอบโดยสังเขป

ประเด็นที่ว่า อับดุลลอฮฺ บินญะอฺฟัร ไม่ได้เข้าร่วมขบวนการไปกับท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) ยังกัรบะลาอฺ, มีเหตุผลมากมายถูกกล่าวถึง ซึ่งต้องใคร่ครวญเป็นพิเศษ และไม่อาจยอมรับได้โดยทันที,แต่จำนวนหนึ่งจากเหตุผลเหล่านั้นสามารถเชื่อถือได้, ซึ่งเหตุผลที่สำคัญและดีที่สุดคือ,คือเหตุผลที่กล่าวว่าท่านอับดุลลอฮฺป่วยไม่สบายและชราภาพด้วย ซึ่งเข้ากันได้เป็นอย่างดีกับรายงานอื่นทางประวัติศาสตร์, เช่น การส่งครอบครัวไปพร้อมกับกองคาราวานของท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) และการแสดงความเสียใจที่ไม่อาจร่วมเดินทางไปพร้อมกับท่านอิมามได้, เข้าใจได้ว่า เหตุผลนี้คือสาเหตุหลักที่ทำให้ท่านอับดุลลอฮฺ ไม่สามารถเข้าร่วมกองคาราวานกับท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) นั่นเอง, สิ่งที่ยืนยันประเด็นดังกล่าว, ฐานะภาพและการให้เกียรติที่อับดุลลอฮฺ กับอะอิมมะฮฺ (.) และบนีฮาชิมหลังเหตุการณ์อาชูรอ อีกทั้งไม่มีผู้ใดเคยว่ากล่าว หรือตำหนิท่านอับดุลลอฮฺ แต่อย่างใด

คำตอบเชิงรายละเอียด

1.บรรดาชุฮะดาแห่งกัรบะลาอฺ : เกี่ยวกับชุฮะดาแห่งกัรบะลาอฺนั้นต้องขอกล่าวว่า พวกเขาคือมนุษย์อีกจำพวกหนึ่งซึ่งได้ทำให้ความหมายของการต่อสู้ (ญิฮาด) ในหนทางของอัลลฮฺสมจริงขึ้นมา พวกเขาได้แสดงให้เห็นว่า การยืนหยัดต่อสู้ในหนทางของอัลลอฮฺไม่ว่าจะเป็นไปในรูปแบบใดล้วนเป็นชัยชนะอันยิ่งใหญ่ทั้งสิ้น พวกเขาดูภายนอกถูกสังหารจนหมดสิ้นและเหมือนกับพ่ายแพ้อย่างยับเยินที่สุด, แต่ตามความเป็นจริงแล้วพวกเขาได้รับชัยชนะอย่างแท้จริง พวกเขาได้รับชีวิตอมตะด้วยการแลกด้วยความตาย และเป็นทีรักยิ่ง  อัลลอฮฺ (ซบ.) พวกเขาได้ก้าวไปถึงยังตำแหน่งหนึ่งซึ่งน้อยคนนักที่จะไปถึงได้, และความประเสริฐนี้สำหรับพวกเขาแล้วมันมีความยิ่งใหญ่ เทียบเท่าบรรดาชะฮีดแห่งสงครามบัดรฺ[1]พวกเขาได้พบกับชีวิตอมตะด้วยการสละชีวิตในหนทางของอัลลอฮฺ และทำให้พวกเขาได้พบกับความหมายที่แท้จริงของชีวิต

2.การมิได้เข้าร่วมของบางคนในกัรบะลาอฺ : บางคนผู้มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักกันดี แต่พวกเขาไม่ได้ใส่ใจต่อการยืนหยัดต่อสู้องท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) ในแผ่นดินกัรบะลาอฺ และไม่มีข้ออ้างด้วยว่าเป็นเพราะสาเหตุใดจึงไม่ไปกัรบะลาอฺ, แต่ก็สามารถกล่าวถึงข้ออ้างของพวกเขาได้บ้าง, ด้วยเหตุนี้ การที่บางคนไม่ได้เข้าร่วมเหตุการณ์ในกัรบะลาอฺ นั้นมิได้ห่างไกลไปจากความศรัทธาที่ถูกต้องเลยแม้แต่นิดเดียว, แม้ว่าผู้ที่ไม่ได้เข้าร่วมนั้นต่อมาจะได้รับผลกระทบเสียหายมากมายก็ตาม อย่างน้อยที่สุดคือ การได้เป็นชะฮีดเคียงข้างท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) แต่นั่นก็มิได้หมายความว่าพวกเขาได้นอกนอกความศรัทธาไปแล้ว, และในกรณีที่มิได้เป็นเช่นนั้น ดังนั้น บุคคลใดที่ไม่ได้เข้าร่วมในเหตุการกัรบะลาฮฺ พวกเขาจึงถูกนับว่าเป็นผู้ทรยศกับแนวทางการยืนหยัดของท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) ทว่าบางคนได้รับเกียติเป็นผู้ศรัทธาแท้จริง แม้ว่าพวกเขาจะไม่ได้เป็นมิตรสหายเหมือนมิตรสหายแห่งกัรบะลาอฺ หรือชุฮะดาแห่งกัรบะลาอฺ แต่พวกเขาก็ได้ความประเสริฐระดับสูงเช่นกัน ซึ่งน้อยคนนักที่จะสามารถก้าวไปถึงตำแหน่งดังกล่าวได้

ท่านอัลลามะฮฺ ฮิลลียฺ ได้รับรองประเด็นดังกล่าวไว้ ซึ่งท่านได้กล่าวว่า การทีอับดุลลอฮฺ บินญะอฺฟัร และบุคคลอื่นที่อยู่ในฐานะภาพใกล้เคียงกับเขา ไม่ได้เข้าร่วมเหตุการณ์กัรบะลาอฺแล้ว จะถือว่าพวกเขาออกนอกความศรัทธา

อัลลามะฮฺ มัจญฺลิซ ได้เล่ามาจากอัลลามะฮฺ ฮิลลียฺ ว่า : ตามหลักการของชีอะฮฺได้พิสูจน์แล้ว่าหลักความศรัทธานั้น ประกอบด้วย การมีศรัทธาต่อเตาฮีด ความยุติธรรมของพระเจ้า นบูวัต และอิมามัต ซึ่งฐานะภาพของมุฮัมมัด บินฮะนีฟะฮฺ หรืออับดุลลอฮฺ บิน ญะอฺฟัร นั้นสูงส่งและยิ่งใหญ่กว่าการที่จะมากล่าวว่า พวกเขาขัดแย้งกับความจริงและความเชื่อ และออกนอกความศรัทธาซึ่งได้รับผลบุญอันอมตะนิรันดร หรือความศรัทธาซึ่งจะทำให้รอดพ้นจากการถูกลงโทษ[2]

บุคลิกภาพของอับดุลลอฮฺ

อับดุลลอฮฺ บุตร ชายของญะอฺฟัร ฏ็อยยาร เป็นเซาะฮาบะฮฺผู้ยิ่งใหญ่ของท่านศาสดา (ซ็อล ) เป็นลูกพี่น้องกับท่านอิมามอะลี (.) ซึ่งความประเสริฐและฐานันดรของท่านนั้นยิ่งใหญ่ตามปรากฏในหน้าประวัติศาสตร์, ญะอฺฟัรคือผู้อาวุโสของอิสลามและมุสลิม ซึ่งท่านได้รับคำสั่งจากท่านเราะซูล (ซ็อล ) ให้อพยพไปประเทศเอธิโอเปีย, อับดุลลอฮฺ คือการถือกำเนิดแรกของอิสลาม ซึ่งท่านได้คลอดในประเทศเอธิโอเปีย และหลังจากกลับจากการอพยพ ท่านได้เดินทางไปฮิญาซ เพื่อพบบิดาของท่านคือ ท่านญะอฺฟัร อัฏฏ็อยยาร ท่านได้เข้าพบท่านศาสดาเสมอ และหลังจากบิดาของท่านได้อำลาจากไป อับดุลลอฮฺ ได้รับการชุบเลี้ยงให้เติบใหญ่โดย ท่านอับบาส บุตรของ อับดุลมุฏ็อล[3]

อับดุลลอฮฺ นับได้ว่าเป็นหนึ่งในผู้อาวุโสของบนีฮาชิม ท่านได้รับใช้ท่านอิมามอะลี () อยู่นานหลายปี และได้ช่วยเหลือท่านอิมาม () ในหลายเหตุการณ์ด้วยกัน อับดุลลอฮฺ รู้สึกดีถึงภาระหน้าที่ของท่าน ท่านและสหายคนอื่นของท่านศาสดา (ซ็อล ) จึงได้ร่วมมือกันเพื่อให้ความช่วยเหลือท่านอิมามอะอี (.) ในหลายๆ เหตุการณ์สำคัญ ความรักและความซื่อสัตย์ที่ท่านอับดุลลอฮ มีต่ออิสลามและระบบการปกครองในอิสลามนั้นยิ่งใหญ่มาก, ท่านอิมามอะลี (.) ได้ยินยอมให้ท่านอับดุลลอฮฺ มอบสัตยาบัน และออกสงครามหลายหนเพื่อต่อสู้กับความเท็จ อีกทั้งในสงครามต่างๆ ท่านยังได้เป็นผู้ปกป้องอิสลามอย่างเข้มแข็งที่สุดคนหนึ่ง

ความเชื่อและความศรัทธาของอับดุลลอฮฺ เกี่ยวกับท่านอิมามฮะซัน (.) และท่านอิมามฮุซัย (.) นั้นยังคงดำเนินต่อไปเรื่อยๆ และเท่าที่มีความสามารถท่านได้รับใช้อิมามทั้งสองอย่างเต็มกำลังความสามารถที่มีอยู่ ได้มีคำกล่าวว่า

แปลคำถามภาษาต่างๆ
ความเห็น
จำนวนความเห็น 0
กรุณาป้อนค่า
ตัวอย่าง : Yourname@YourDomane.ext
กรุณาป้อนค่า
<< ลากฉัน
กรุณากรอกจำนวนที่ถูกต้องของ รหัสรักษาความปลอดภัย

เนื้อหาที่มีผู้อ่านมากที่สุด

  • อะไรคือหน้าที่ๆภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีบ้าง?
    59388 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/07
    ความมั่นคงของชีวิตคู่ขึ้นอยู่กับความรักความผูกพัน ความเข้าใจ การให้เกียรติและเคารพสิทธิของกันและกัน และเพื่อที่สถาบันครอบครัวจะยังคงมั่นคงเป็นปึกแผ่น อิสลามจึงได้ระบุถึงสิทธิของทั้งภรรยาและสามี ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดหน้าที่สำหรับทั้งสองฝ่ายไว้ด้วย เนื่องจากเมื่ออัลลอฮ์ประทานสิทธิ ก็มักจะกำหนดหน้าที่กำกับไว้ด้วยเสมอ ข้อเขียนนี้จะนำเสนอหน้าที่ทางศาสนาบางส่วนที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังต่อไปนี้:1. ...
  • ดุอาใดบ้างที่ทำให้ได้รับพรเร็วที่สุด?
    56840 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/07/03
    มีดุอาที่รายงานจากอิมาม(อ.)หลายบทที่กล่าวขานกันว่าเห็นผลตอบรับอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาดุอาทั้งหมด ณ ที่นี้ได้ จึงขอกล่าวเพียงชื่อดุอาที่มีความสำคัญเป็นพิเศษดังต่อไปนี้1. ดุอาตะวัซซุ้ล2. ดุอาฟะร็อจ
  • กรุณานำเสนอบทดุอาเพื่อให้ได้พบคู่ครองที่เหมาะสมและเปี่ยมด้วยตักวา
    41668 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/12
    ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีปัจจัยและเงื่อนไขจำเพาะตามที่พระเจ้าทรงกำหนดหากเราประสงค์สิ่งใดย่อมต้องเริ่มจากการตระเตรียมปัจจัยและเงื่อนไขเสียก่อนปัจจัยของการแต่งงานคือการเสาะหาและศึกษาอย่างละเอียดทว่าเพื่อความสัมฤทธิ์ผลในการดังกล่าวจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์เพื่อทรงชี้นำการตัดสินใจและความพยายามของเราให้บรรลุดังใจหมาย.การอ่านบทดุอาต่างๆที่รายงานจากบรรดาอิมาม(อ)ต้องควบคู่กับความพยายามศึกษาและเสาะหาคู่ครองอย่างถี่ถ้วน. หนึ่งในดุอาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คือรายงานที่ตกทอดมาจากท่านอลี(อ)ดังต่อไปนี้: “ผู้ใดประสงค์จะมีคู่ครอง
  • ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
    38421 วิทยาการกุรอาน 2555/08/22
    หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
  • ครูบาอาจารย์และลูกศิษย์(นักเรียนนักศึกษา)มีหน้าที่ต่อกันอย่างไร?
    38415 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/11/14
    ผู้สอนและผู้เรียนมีหน้าที่ต่อกันหลายประการด้วยกันซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นสองส่วนก. หน้าที่ที่ผู้สอนมีต่อผู้เรียนอันประกอบด้วยหน้าที่ทางจริยธรรมการอบรมและวิชาการ ข. หน้าที่ที่ผู้เรียนมีต่อผู้สอนอาทิเช่นการให้เกียรติครูบาอาจารย์ยกย่องวิทยฐานะของท่านนอบน้อมถ่อมตน ...ฯลฯ ...
  • ก่อนการสร้างนบีอาดัม(อ) เคยมีการแต่งตั้งญินให้เป็นศาสนทูตสำหรับฝ่ายญินหรือไม่?
    33448 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/06/12
    อัลกุรอานยืนยันการมีอยู่ของเหล่าญินรวมทั้งได้อธิบายคุณลักษณะบางประการไว้ถึงแม้ว่าข้อมูลของเราเกี่ยวกับโลกของญินจะค่อนข้างจำกัดแต่เราสามารถพิสูจน์ว่าเหล่าญินเคยมีศาสนทูตที่เป็นญินก่อนการสร้างนบีอาดัมโดยอาศัยเหตุผลต่อไปนี้:1. เหล่าญินล้วนมีหน้าที่ทางศาสนาเฉกเช่นมนุษย์เราแน่นอนว่าหน้าที่ทางศาสนาย่อมเป็นผลต่อเนื่องจากการสั่งสอนศาสนาด้วยเหตุนี้จึงมั่นใจได้ว่าอัลลอฮ์ทรงเคยแต่งตั้งศาสนทูตสำหรับกลุ่มชนญินเพื่อการนี้2. เหล่าญินล้วนต้องเข้าสู่กระบวนการพิพากษาในวันกิยามะฮ์เฉกเช่นมนุษย์เราซึ่งโดยทั่วไปแล้วก่อนกระบวนการพิพากษาทุกกรณีจะต้องมีการชี้แจงข้อกฏหมายจนหมดข้อสงสัยเสียก่อนและการชี้แจงให้หมดข้อสงสัยคือหน้าที่ของบรรดาศาสนทูตนั่นเอง
  • เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
    27537 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/03/08
    ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
  • ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
    27233 การตีความ (ตัฟซีร) 2553/12/22
    เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม (อ.) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้กราบสุญูดอาดัมแต่ซาตานไม่ได้ก้มกราบบางคนกล่าวว่าชัยฎอน (อิบลิส) เป็นมะลาอิกะฮฺ, โดยอ้างเหตุผลว่าเนื่องจากโองการอัลกุรอานกล่าวละเว้น, อิบลิสไว้ในหมู่ของมะลาอิกะฮฺ (มะลาอิกะฮ์ทั้งหมดลดลงกราบยกเว้นอิบลิส) ดังนั้นอิบลิส
  • อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
    27132 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/07
    ในแวดวงวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้นบ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวาอีหม่านและอะมั้ลที่ศอลิห์
  • เมื่ออัลลอฮฺ มิทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายจากสิ่งใดทั้งหมด, หมายความว่าอำนาจของพระองค์ได้ถ่ายโอนไปสู่วัตถุปัจจัยกระนั้นหรือ?
    25205 รหัสยทฤษฎี 2555/05/17
    ใช่แล้ว การสร้างจากสิ่งไม่มีตัวตนมีความหมายตามกล่าวมา, เนื่องจากคำว่า ไม่มีตัวตน คือไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งอัลลอฮฺ ทรงสร้างสิ่งนั้นขึ้นมา รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้เช่นกันว่า อำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า มีความเป็นหนึ่งเดียวกันกับคุณลักษณะอื่นของพระองค์ ซึ่งเกินเลยอำนาจความรอบรู้ของมนุษย์ เนื่องจากสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลายได้ถูกสร้างขึ้นมา จากสิ่งไม่มี ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย เปรียบเสมือนภาพที่ถ่ายโอนอำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า เราเรียกนิยามนี้ว่า “การสะท้อนภาพ”[1]ซึ่งในรายงานฮะดีซได้ใช้คำว่า “การเกิดขึ้นของคุณลักษณะ” : อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงเป็นพระผู้อภิบาลของเราที่มีความเป็นนิรันดร์ ความรอบรู้คือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีความรอบรู้อันใด การได้ยินคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการได้ยินใดๆ การมองเห็นคือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการมองเห็นอันใด อำนาจคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีอำนาจอันใด และเนื่องจากพระองค์คือ ผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้สิ่งเหล่านั้นมีและเป็นไป ความรู้ของพระองค์ได้ปรากฏบนสิ่งถูกรู้จักทั้งหลาย การได้ยิน ได้ปรากฏบนสิ่งที่ได้ยินทั้งหลาย การมองเห็นได้ปรากฏบนสิ่งมองเห็น และอำนาจของพระองค์ ...