การค้นหาขั้นสูง
ผู้เยี่ยมชม
9786
อัปเดตเกี่ยวกับ: 2550/11/01
 
รหัสในเว็บไซต์ fa1712 รหัสสำเนา 26997
คำถามอย่างย่อ
ระบบการศึกษาในโรงเรียนสอนศาสนาในอิหร่านเป็นอย่างไร?
คำถาม
ผู้ฟังรายการวิทยุ สถานีบังกลาเทศ ต้องการทราบระบบการศึกษาในโรงเรียนสอนศาสนาในอิหร่าน ว่าเป็นอย่างไร?
คำตอบโดยสังเขป

ปัจจุบันวิธีการศึกษาศาสนาในสถาบันสอนศาสนา ณ ประเทศอิหร่าน จะยกระดับสูงมาก ซึ่งแบ่งออกเป็นหลายระดับ เนื่องจากนักศึกษาทุกท่านก่อนเข้าศึกษาศาสนา ต้องจบการศึกษาระดับมัธยมปลายเป็นอย่างน้อย ระดับต้นของการศึกษา นักศึกษาทุกคนต้องศึกษาวิชา อิลมุล ซะรอฟ วิชาการเปลี่ยนแปลงคำ รูปแบบหรือโครงสร้างของลำดับคำในประโยคและวะล, อิลมุลนะฮฺวุ วิชาโครงสร้างของประโยคที่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ของภาษา, อิลมุลมะอานี วิชาวาทศาสตร์ หรือบางครั้งก็เรียก วาทศิลป์ เหมือนกัน, อิลมุลลุเฆาะฮฺ การเข้าใจความหมายของคำอย่างถูกต้อง, อิลมุลมันติก วิชาที่สอนให้รู้จักคิดอย่างถูกต้อง(ตรรกศาสตร์) ระดับที่สอง ซึ่งมีทั้งสิ้นสิบระดับด้วยกัน วิชาที่ต้องเรียนในระดับนี้คือ อุซูล วิชาหลักการ หรือกฎที่ใช้เป็นมูลฐานในการอธิบายปรากฏการณ์ หรือแนวคิด หรือกฎที่ใช้พิสูจน์บทบัญญัติ,ฟิกฮฺ หลักนิติศาสตร์อิสลาม และวิชาทั่วไปที่ต้องศึกร่วมประกอบด้วย เทววิทยา ตัฟซีร เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์,ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกุรอาน, จริยศาสตร์, ภาษาต่างประเทศ,คอมพิวเตอร์ และ...ระดับสามเรียกว่า บะฮัษคอริจญฺ ต้องเรียนอุซูลและฟิกฮฺระดับของการอิจญฺติฮาดเพื่อก้าวไปเป็นมุจญฺตะฮิด และวิชาเฉพาะที่ต้องศึกษาร่วมคือ ตัฟซีรกุรอาน เทววิทยาระดับสูง การเผยแพร่ และ ...

คำตอบเชิงรายละเอียด

ระบบการศึกษาในสถานสอนศาสนา ณ ประเทศอิหร่าน หลังจากการปฏิวัติอิสลามแห่งอิหร่าน และการจัดตั้งรัฐอิสลามแล้ว ได้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างมาก มีผู้สมัครเข้าเรียนในสถาบันและโรงเรียนสอนศาสนาเป็นจำนวนมาก ในลักษณะที่ว่านักศึกษาเมื่อจบชั้นมัธยมตอนปลายแล้ว พวกเขาได้เข้าสมัครเรียนศาสนาเป็นส่วนใหญ่

การเข้าศึกษาศาสนานั้นในช่วงของการศึกษา นักศึกษาทุกคนต้องศึกษาระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูงสุด พร้อมกับต้องศึกษาวิชาการทั่วไป และวิชาการเฉพาะทาง เบื้องแรกการศึกษาในระต้นมีรายละเอียดดังนี้

1) การศึกษาระดับต้น :

วิชาที่ต้องศึกษาประกอบด้วย อิลมุล ซะรอฟ,อิลมุลนะฮฺวุ,อิลมุลมะอานี ,อิลมุลลุเฆาะฮฺ ,อิลมุลมันติก ซึ่งวัตถุประสงค์หลักของการศึกษาวิชาเหล่านี้คือ ต้องการให้นักศึกษามีความสามารถและสันทัด ภาษาอัลกุรอาน นั่นเอง ซึ่งในระดับนี้จะอยู่ในช่วงการจัดทำกุญแจเพื่อไขไปสู่วิชาการอิสลาม เนื่องจากฮะดีซ ซุนนะฮฺของท่านศาสดา (ซ็อลฯ) และอิมามผู้บริสุทธิ์ (อ.) ล้วนเป็นภาษาอาหรับทั้งสิ้น[1] การศึกษาในระดับนี้จะใช้เวลาประมาณ 3-4 ปี

2) การศึกษาระดับที่สอง :

วิชาระดับนี้ประกอบด้วย อิลมุลอุซูล, ฟิกฮฺ, ซึ่งวิชาอุซูลตำราที่ใช้เรียนได้แก่หนังสือมะอาลิม,อุซูลลุลฟิกฮฺ, ระซาอิล, กิฟายะฮฺ, ส่วนฟิกฮฺจะศึกษาหนังสือ ลุมอะฮฺ, และมะกาซิบ,

แน่นอน สถานบันบางที่นอกจากตำราที่กล่าวมาแล้ว จะศึกษาตำราอื่นอีกด้วย ซึ่งเป้าหมายของการศึกษาในระดับนี้คือ ต้องการให้นักศึกษาเข้าใจและคุ้นเคยกับวิชาฟิกฮฺและอุซูล และตำราอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับทั้งสองวิชานี้ ดังนั้น จึงมีการเตรียมตัวโดยการศึกษาตำราฟิกฮฺของนักปราชญ์สมัยก่อน หนึ่ง เพื่อจะได้รับรู้ถึงความเห็น และความคิดริเริ่มต่างๆ ของพวกเขา วิธีการพิสูจน์ฟิกฮฺและอุซูล ในหมู่พวกเขาเพื่อเก็บเป็นข้อมูลสำหรับตนเอง สอง เพื่อเตรียมพร้อมตนเองในการค้นคว้าและวิจัยฮะดีซและโองการต่างๆ เมื่อเข้าสู่ระดับ บะฮัษคอริจญ์ ระดับนี้จะใช้เวลาศึกษาประมาณ 5-7 ปี

3) บะฮัษคอริจญฺฟิกฮฺและอุซูล :

การศึกษาในระดับนี้ อาจารย์และลูกศิษย์จะตกลงกันเพื่อความเป็นระเบียบ และต่อเนื่องในบทเรียน โดยจำกำหนดเนื้อหาของฟิกฮฺกันเอง เช่น อาจใช้หนังสือ ชะรอญิอฺ หรือตะฮฺรีรุลวะซีละฮฺ อุรวะตุลวุซกอ หรือเนื้อหาของอุซูล เช่น กิฟายะฮฺ อัลอุซูล เป็นต้น ซึ่งอาจารย์จะทำการศึกษาและวิจัยบนพื้นฐานของตำราเล่มใดเล่มหนึ่งที่กำหนดขึ้นมา โดยจะนำเอาทัศนะของผู้เขียน คำพูดของนักปราชญ์ท่านอื่นในประเด็นเดียวกัน มาวิเคราะห์และวิภาษโดยละเอียด พร้อมกับหาข้อมูลมาหักล้างหรือเสริมทัศนะเหล่านั้น อาจารย์จะทำการตรวจสอบข้อมูลและเหตุผล พร้อมกับหลักฐาน อย่างละเอียด และสุดท้ายจะแสดงทัศนะของตนออกมา ซึ่งลูกศิษย์ทุกตนมีสิทธิ์ที่จะเลือก หรือไม่เลือกทัศนะของอาจารย์ หรือหาเหตุผลมาหักล้างก็ได้ ตรงนี้ความรู้จะเปิดกว้าง เพื่อเฟ้นหาสิ่งที่ดีที่สุดในวิชาการ

วัตถุประสงค์หลักของการศึกษาในระดับนี้คือ การฝึกฝนและฟูมฟักพลังในการพิสูจน์ วิจัก ค้นหาความจริง และการวินิจฉัยของนักศึกษา เพื่อว่าเขาจะได้เป็นผู้เชี่ยวชาญ และสามารถวินิจฉัยปัญหาใหม่ๆ ของฟิกฮฺได้ โดยมีแหล่งอ้างอิงหลัก 4 ประการเป็นคู่มือ ได้แก่อัลกุรอาน ฮะดีซ สติปัญญา และความเห็นชอบของนักปราชญ์ทั้งหลาย ซึ่งในช่วงที่ศึกษานั้นเขาจะต้องฝึกฝนสอนฟิกฮฺและอุซูลในระดับสูงด้วย อีกด้านหนึ่งอาจารย์ขณะที่สอนในระดับนี้ จะไม่ใช่ตำราประกอบการสอนเพียงเล่มหรือสองเล่มเท่านั้น ในบางครั้งจะแสดงทัศนะของตน โดยใช้ประโยชน์จากหลักฐานและเหตุจำนวนมาก ซึ่งบางครั้งต้องมีตำราประกอบหลายสิบเล่มที่แตกต่างกัน จึงเรียกการศึกษาตรงนี้ด้วยนิยามว่า บะฮัษคอริจญฺฟิกฮฺและอุซูล หมายถึงสิ่งที่อยู่นอกเหนือจากตำรา

บรรดาลูกศิษย์ในระดับนี้ ส่วนใหญ่ศึกษาเพื่อให้หลักสูตรของตนสูงและสมบูรณ์ ซึ่งขึ้นอยู่กับความคิดของตน ดังนั้น นอกจากวิชาฟิกฮฺและอุซูลแล้ว บางคนได้ศึกษาปรัชญา เอรฟาน และวิชาอื่นๆ พร้อมกับวิจัยค้นคว้า หรือเขียนตำราขึ้นมา ลูกศีษย์เอกในช่วงที่ศึกษาอยู่นั้นจะจดบันทึกคำสอนของอาจารย์ และนำไปค้นคว้าต่อจากที่อาจารย์ได้สอนในชั้นเรียก จากแหล่งอ้างอิงทางวิชาการอื่น หลังจากนั้นจะวิเคราะห์หาเหตุผลที่นอกเหนือไปจากที่อาจารย์ได้สอน แล้วนำกลับมาเสนออาจารย์อีกครั้งหนึ่ง เพื่อขอความเห็นชอบจากอาจารย์เป็นเสมือนคำรับรองจากอาจารย์อีกทีหนึ่ง  ซึ่งการศึกษาในระดับนี้จะใช้เวลาประมาณ 8-10 ปี ขึ้นอยู่ความสามารถและสติปัญญาของนักศึกษา ประกอบกับประสบการณ์ของอาจารย์ก็ถือว่าเป็นเกณฑ์ที่มีความสำคัญยิ่ง ซึ่งทุกคราบเรียนจะใช้เวลาประมาณ 1-2 ชั่วโมง นอกจากนั้นลูกศิษย์บางคนมิได้จำกัดการศึกษาอยู่แค่อาจารย์เพียงคนเดียว แต่จะศึกษาจากอาจารย์หลายๆ คน ในช่วงการศึกษานี้เอง นักศึกษาคนใดมีความสามารถและศักยภาพเพียงพอ เขาก็จะได้ก้าวไปสู่ขั้นของการอิจญฺติฮาด หรือเรียกว่ามุจญฺตะฮิด ซึ่งถือว่าเป็นขึ้นที่สมบูรณ์สูงสุดของการศึกษา วิชาการในสถาบันสอนศาสนา

นักศึกษาส่วนใหญ่จะศึกษาระดับ บะฮัษคอริจญฺ เกินหนึ่งคอร์ส ซึ่งขึ้นอยู่กับความพยายาม และสติปัญญาอันชาญฉลาดของเขา หลัวจากนั้นเขาจะก้าวไปสู่มุจญฺตะฮิดที่ปราดเปรื่อง

4) หลักสูตรเฉพาะ :

วัตถุประสงค์ของการศึกษาหลักสูตรนี้ ซึ่งจะอยู่ภายใต้หมวดวิชา ตัฟซีร เทววิทยา นิเทศศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และ .. การอบรมผู้เชี่ยวชาญการศึกษาในสาขาต่างๆ โดยเฉพาะเรื่องที่เป็นความต้องการของสถาบัน และสังคม ซึ่งแน่นอนว่าการกระทำนี้เป็นสิ่งที่มีคุณค่ามากมายยิ่ง เพราะบุคคลนอกจากจะสมารถวินิจฉัยในฟิกฮฺ และอุซูลได้แล้ว ยังมีประสบการณ์และความสมารถพิเศษอีกสาขาหนึ่งของวิชาการอิสลาม สิ่งนี้ย่อมเป็นประโยชน์อันเอนกอนันต์ต่อสถาบัน และสังคม

5) หลักสูตรทั่วไป :

สถานบันสอนศาสนา ณ เมืองกุม หรือเมืองอื่นๆ นอกจากจะศึกษาวิชาการหลักของสถาบันแล้ว ขณะที่ศึกษระดับพื้นฐาน หรือระดับกลางนั้น เขาจะศึกษาวิชาการอื่นร่วมไปพร้อมกัน เช่น หลักศรัทธา ตัฟซีรกุอาน เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกุรอาน  จริยศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ คอมพิวเตอร์ และอื่น ...ซึ่งวัตถุประสงค์ต้องการศึกและพัฒนาความคิดของนักศึกษา ให้ได้รับข้อมูลจากแหล่งความรู้ที่กว้างออกไป แน่นอน ว่าสิ่งเหล่านี้เป็นประโยชน์กับตัวเขาอย่างมาก หลักสูตรเหล่านี้แม้ว่ามีความจำเป็นแต่ก็จะไม่นับว่าเป็นบทเรียนหลัก ของสภาบันศาสนา โดยปรกติจะศึกษาเคียงคู่ไปกับบทเรียนหลักของสถาบันศาสนา

 


[1] คัดลอกมาจาก เวป hawzah.net จากหนังสือพิมพ์ ญุมฮูรี อิสลาม, ฉบับที่ 3645, หน้า 12, วิธีศึกษาในสถาบันศึกษาศาสนา หน้า 27,

 

แปลคำถามภาษาต่างๆ
ความเห็น
จำนวนความเห็น 0
กรุณาป้อนค่า
ตัวอย่าง : Yourname@YourDomane.ext
กรุณาป้อนค่า
<< ลากฉัน
กรุณากรอกจำนวนที่ถูกต้องของ รหัสรักษาความปลอดภัย

คำถามสุ่ม

  • การโอนถ่ายพลังจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งนั้นเป็นที่ยอมรับในศาสนาอิสลามหรือไม่? ประเด็นนี้มีฮุกุมเช่นไร?
    5973 สิทธิและกฎหมาย 2555/05/19
    เรื่องนี้รวมถึงการรักษาและผลพวงที่ว่ากันว่าจะได้รับจากการรักษาดังกล่าวยังไม่อาจพิสูจน์ได้ และอาจจะเป็นไปได้ว่าผู้ที่อยู่ในวงการนี้อาจจะอุปทานไปเอง ดังนั้นบรรดามะรอญิอ์ตักลีดก็ยังไม่ได้ให้คำตอบที่ชัดเจนเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว เนื่องจากเป็นประเด็นที่ยังมีความคลุมเคลืออยู่ อย่างไรก็ตามคำตอบของบรรดามัรญิอ์ตักลีดท่านอื่นเกี่ยวกับคำถามนี้มีดังนี้ สำนักงานของท่านอายาตุลลอฮ์ อัลอุซมา มะการิม ชีรอซี ประเด็นหลักของการรักษาทางพลังเอเนรจีนั้นไม่มีปัญหาอะไร แต่หากจะต้องขึ้นอยู่กับการกระทำฮะรอมถือว่าไม่อนุญาต คำตอบของท่านอายาตุลลอฮ์ มะฮ์ดี ฮาดะวี เตหะรานี มีดังนี้ การกระทำนี้ โดยตัวของมันเองแล้วนั้นถือว่าไม่มีข้อห้ามแต่อย่างใด ยกเว้นกรณีที่กระทำด้วยปัจจัยที่เป็นฮะรอม เช่นการถูกเนื้อต้องตัวกับผู้ที่ไม่ใช่มะฮ์รอม ฯลฯ ซึ่งไม่เป็นที่อนุญาต ทว่าหากการนำเสนอประเด็นนี้เป็นพื้นฐานในการสร้างความเชื่อที่ผิด ๆ และผู้นำเสนอในประเด็นดังกล่าวจะแอบอ้างว่าตนมีพลังและความสามารถที่พิเศษเหนือมนุษย์ ซึ่งจะทำให้เกิดความเบี่ยงเบนและหันเหไปทางที่ผิดทางความคิดในสังคมนั้น ก็จะถือว่าประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ฮะรอม หมวดหมู่ที่เกี่ยวข้อง คำถามที่ 4864 (ลำดับในเว็บไซต์ ...
  • จงอธิบายทฤษฎีของพหุนิยมทางศาสนาและการตีความที่แตกต่างกันของศาสนา และระบุความแตกต่างของพวกเขา?
    17881 เทววิทยาใหม่ 2555/04/07
    1.พหุนิยมหมายถึง ความมากมายในหลายชนิด ทั้งในทางปรัชญาของศาสนา, ปรัชญาจริยธรรม, กฎหมาย และการเมืองและว่า ... ซึ่งทั้งหมดมีการใช้งานที่แตกต่างกัน ซึ่งการรับรู้ทั้งหมดเหล่านี้อย่างเป็นทางการในนามของการรู้จักในความหลากหลาย ในทางตรงกันข้ามกับความเป็นหนึ่งเดียว หรือความจำกัดในความเป็นหนึ่งเดียว พหุนิยมทางศาสนา หมายถึงการไม่ผูกขาดความถูกต้องไว้ในศาสนาใดศาสนาหนึ่งเฉพาะพิเศษ การได้รับผลประโยชน์ของทุกศาสนาจากความจริงและการช่วยเหลือให้รอด 2. พหุนิยม อาจได้รับการพิจารณาในหมู่ศาสนาต่างๆ หรือระหว่างนิกายต่างๆ ในศาสนาที่มีอยู่ก็ได้ 3. ในความคิดของเราชาวมุสลิมทั้งหลาย พหุนิยมถูกปฏิเสธก็เนื่องจากเหตุผลที่ว่า ในศาสนาอิสลามมีเหตุผลที่ชัดเจนเกี่ยวกับสาเหตุความถูกต้องของศาสนาอิสลาม ในลักษณะที่ว่าในศาสนาอื่น ๆ ไม่มีเหตุผลที่ถูกต้องพอเหมือนกับศาสนาอิสลาม นอกจากนี้ คัมภีร์แห่งฟากฟ้า (อัลกุรอาน) ยังไม่มีการบิดเบือนหรือสังคายนาใดๆ ทั้งสิ้น และความสมบูรณ์ของศาสนาอิสลามก็เท่ากับว่าได้ยกเลิกคำสอนของศาสนาอื่นไปโดยปริยาย 4. การตีความที่แตกต่างกันของศาสนา ซึ่งหนึ่งในหลักการพื้นฐานของสิ่งนั้นคือ อรรถปริวรรตศาสตร์ และอีกประการหนึ่งคือการรู้จักต่างๆ ในศาสนาและการวิจัย ...
  • โปรดอธิบาย หลักความเชื่อของวะฮาบี และข้อทักท้วงของพวกเขาที่มีต่อชีอะฮฺว่า คืออะไร?
    18283 เทววิทยาดั้งเดิม 2555/06/30
    วะฮาบี, คือกลุ่มบุคคลที่เชื่อและปฏิบัติตาม มุฮัมมัด บิน อับดุลวะฮาบ, พวกเขาเป็นผู้ปฏิตามแนวคิดของสำนักคิด อิบนุตัยมียะฮฺ และสานุศิษย์ของเขา อิบนุ กัยยิม เญาซียฺ ซึ่งเขาเป็นผู้วางรากฐานทางความศรัทธาใหม่ในแคว้นอาหรับ. วะฮาบี เป็นหนึ่งในสำนักคิดของนิกายในอิสลาม ซึ่งมีผู้ปฏิบัติตามอยู่ในซาอุดิอารเบีย ปากีสถาน และอินเดีย ตามความเชื่อของพวกเขาการขอความช่วยเหลือผ่านท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) บรรดาอิมามผู้บริสุทธิ์ (อ.) การซิยาเราะฮฺ, การให้เกียรติ ยกย่องและแสดงความเคารพต่อสถานฝังศพของท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) และบรรดาอิมามผู้บริสุทธิ์ถือเป็น บิดอะฮฺ อย่างหนึ่ง ประหนึ่งเป็นการแสดงความเคารพต่อเจว็ดรูปปั้น ถือว่า ฮะรอม. พวกเขาไม่อนุญาตให้กล่าวสลาม หรือยกย่องให้เกียรติท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) ยกเว้นในนมาซเท่านั้น, พวกเขายอมรับการสิ้นสุดชีวิตทางโลกของเขา เป็นการสิ้นสุดอันยิ่งใหญ่ และเป็นการสิ้นสุดที่มีเกียรติยิ่ง ร่องรอยของทุกสิ่งไม่ว่าจะเป็น โดม ลูกกรง และอื่นๆ ...
  • ท่านอิมามฮุเซน(อ.)มีบุตรสาวคนหนึ่งชื่อรุก็อยยะฮ์ไช่หรือไม่?
    7954 สิทธิและกฎหมาย 2554/12/04
    คำถามนี้ไม่มีคำตอบแบบสั้น ปรดเลือกปุ่มคำตอบที่สมบูรณ์ ...
  • มุคตารคือ ษะกะฟีย์ ซึ่งในหัวใจมีความรักให้ท่านอบูบักร์และอุมมัรเท่านั้น? แล้วทำไมเขาจึงไม่ปกป้องท่านอิมามฮุซัยนฺ (อ.) ในกัรบะลาอฺ?
    8272 تاريخ بزرگان 2554/12/21
    รายงานเกี่ยวกับมุคตารที่ปรากฏอยู่ในตำราฮะดีซนั้นแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มกล่าวคือรายงานบางกลุ่มกล่าวสรรเสริญเขา
  • ทำอย่างไรมนุษย์จึงจะกลายเป็นที่รักยิ่งของอัลลอฮฺ?
    5278 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/21
    คำว่า “มุฮิบบัต” มาจากรากศัพท์คำว่า “ฮุบ” หมายถึงมิตรภาพความรัก. ความรักของอัลลอฮฺ (ซบ.) ที่มีต่อปวงบ่าวข้าทาสบริพารมิได้มีความเข้าใจเหมือนกับความรักสามัญทั่วไป, เนื่องจากความสิ่งจำเป็นของความรักในความหมายของสามัญคือปฏิกิริยาแสดงออกของจิตใจและอารมณ์ซึ่งอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงบริสุทธิ์จากสิ่งเหล่านี้, ทว่าความรักที่อัลลอฮฺทรงมีต่อปวงบ่าว,
  • เป็นไปได้หรือไม่ ที่จะรีบจ่ายคุมุสหลังจากซื้อบ้านโดยมิได้จ่ายคุมุส?
    5816 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/16
    หากผู้ถามจะระบุให้ชัดเจนว่าต้องการทราบฟัตวาของมัรญะอ์ท่านใดก็จะช่วยให้ได้คำตอบที่แม่นยำมากขึ้นทั้งนี้เราขอตอบคำถามของท่านตามทัศนะของท่านอายะตุ้ลลอฮ์อุซมาคอเมเนอีดังต่อไปนี้ในกรณีที่ยังไม่ได้ซื้อบ้านและยังมีภาระต้องจ่ายคุมุสอยู่จำเป็นต้องจ่ายคุมุสเสียก่อนแล้วจึงซื้อบ้านแต่หากเงินคงเหลือหลังหักคุมุสไม่เพียงพอที่จะซื้อบ้านที่เหมาะสมขอให้ท่านปรึกษามัรญะอ์ตั้กลีดหรือตัวแทนและทำการประนีประนอมหนี้คุมุสโดยขอผัดผ่อนการชำระไปก่อนระยะหนึ่งแต่ถ้าหากท่านดำเนินการซื้อบ้านไปก่อนที่จะปรึกษามัรญะอ์ตั้กลีดหรือตัวแทน  ให้รีบปรึกษามัรญะอ์ตั้กลีดหรือตัวแทนตั้งแต่บัดนี้เพื่อพวกเขาจะอาศัยอำนาจหน้าที่ๆมีเพื่อกำหนดระยะเวลาชำระคุมุสให้ท่าน.[1][1]ดู: ประมวลปัญหาศาสนาโดยอิมามโคมัยนี(ภาคผนวก),เล่ม 2 ,หน้า
  • ฐานะภาพของบรรดาอิมามสูงส่งกว่าบรรดานบีจริงหรือ?
    6647 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/12/20
    ฮะดีษมากมายระบุว่าบรรดาอิมามมีความสูงส่งเหนือบรรดานบีทั้งนี้ก็เนื่องจากรัศมีทางจิตใจของบรรดาอิมามหลอมรวมกับท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) ฉะนั้นในเมื่อท่านนบีมีศักดิ์เหนือบรรดานบีท่านอื่นๆวุฒิภาวะที่บรรดาอิมามได้รับการถ่ายทอดจากนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) จึงเหนือกว่านบีทุกท่าน ประเด็นที่ว่ามนุษย์มีศักดิ์ที่สูงกว่ามลาอิกะฮ์นั้นถือเป็นสิ่งที่อิสลามยอมรับฉะนั้นการที่อิมามผู้ไร้บาปจะมีศักดิ์เหนือกว่ามลาอิกะฮ์จึงไม่ไช่เรื่องที่เหนือความคาดหมายแต่อย่างใด ...
  • ในประโยคคำปฏิญาณ (อัชฮะดุ อันลา อิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ) ได้นำเอาประโยคปฏิเสธขึ้นหน้าก่อนการปฏิญาณ (ในความเป็นเอกะของพระองค์) มีเหตุผลอันใดหรือ?
    23962 ادله نقلی 2557/10/06
    คำว่า ชะฮาดะตัยนฺ คือการผนวกสองประโยคเข้าด้วยกันคือ คำปฏิญาณประโยคแรกคือ (อัชฮะดุ อันลา อิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ) เพื่อพิสูจน์และสารภาพถึงความเป็นหนึ่งเดียวของพระเจ้า ซึ่งเฉพาะเจาะจงและคู่ควรยิ่งแก่การเคารพภักดี สำหรับองค์พระผู้อภิบาลแห่งสากลโลก ส่วนคำปฏิญาณที่สอง (อัชฮะดุ อันนะ มุฮัมมะดัน เราะซูลลุลอฮฺ) เพื่อพิสูจน์และปฏิญาณว่า ท่านนะบีมุฮัมมัดคือ ศาสนทูตแห่งอิสลาม มิได้พิสูจน์การเป็นศาสนทูตคู่ควรแก่ท่านนะบี ด้วยเหตุนี้ ชะฮาดัตแรก จึงเป็นเน้นอันเฉพาะเจาะจงสำหรับพระองค์ ประโยคจึงเริ่มต้นด้วย “การปฏิเสธ” ลานะฟีญินซฺ เพื่อเน้นให้เห็นความสำคัญของคำว่า “อิลาฮะ” ซึ่งถือว่าเป็นคำนามที่เป็นนักกิเราะฮฺ (มิได้ระบุเจาะจง) แน่นอน บริบทของการปฏิเสธนี้ ให้ประโยชน์ในแง่รวมทั้งหมด โดยปฏิเสธพระเจ้าที่มีทั้งหมดบนโลก และปฏิเสธการมีส่วนร่วมในความเป็นพระเจ้า ของพระเจ้าที่แท้จริง ดังนั้น การที่กล่าวว่าไม่มีพระเจ้าอื่นใด “นอกจาก” อิลลา นั่นเป็นจำกัดให้เห็นถึงความสำคัญอันเฉพาะสำหรับ อัลลอฮฺ เพื่อประกาศให้รู้ว่าไม่มีใคร หรือสิ่งใดมีส่วนร่วมในการเป็นพระผู้อภิบาลของพระองค์ ดังนั้น ในความเป็นจริงจึงพิสูจน์ด้วยประโยคที่กล่าวว่า “นอกจากอัลลอฮฺ” ...
  • การลอกข้อสอบผู้อื่นโดยที่บุคคลดังกล่าวยินยอม จะมีฮุกุมเช่นไร?
    14745 สิทธิและกฎหมาย 2554/11/19
    ว่ากันว่าบรรดาฟะกีฮ์มีทัศนะเป็นเอกฉันท์ว่าการลอกข้อสอบถือเป็นฮะรอมดังที่หนังสือ “ประมวลคำถามของนักศึกษา” ได้ตั้งคำถามว่าการลอกข้อสอบมีฮุกุมอย่างไร? คำตอบคือทุกมัรญะอ์ให้ความคิดเห็นว่าไม่อนุญาต[1]หนังสือดังกล่าวได้ให้คำตอบต่อข้อคำถามที่ว่ากรณีที่ยินยอมให้ผู้อื่นลอกข้อสอบจะมีฮุก่มเช่นไร? มัรญะอ์ทุกท่านตอบว่า “การยินยอมไม่มีผลต่อฮุกุมแต่อย่างใด”[2] หมายความว่าฮุกุมของการลอกข้อสอบซึ่งถือว่าเป็นฮะรอมนั้นไม่เปลี่ยนเป็นฮะลาลด้วยกับการยินยอมของผู้ถูกลอกแต่อย่างใดเกี่ยวกับประเด็นนี้มีอีกหนึ่งคำถามที่ถามจากมัรญะอ์บางท่านดังต่อไปนี้คำถาม "หากนักเรียนหรือนักศึกษาสอบผ่านด้วยการลอกข้อสอบและได้เลื่อนระดับขั้นที่สูงขึ้นอันทำให้ได้รับสิทธิประโยชน์ต่างๆกรณีเช่นนี้อนุญาตให้รับสิทธิประโยชน์ดังกล่าวได้หรือไม่?”ท่านอายะตุลลอฮ์คอเมเนอี “การลอกข้อสอบถือว่าเป็นฮะรอมแต่กรณีที่บุคคลผู้นั้นมีความชำนาญและความเชี่ยวชาญในหน้าที่การงานที่เขาได้รับการว่าจ้างโดยที่เขาทำตามกฎระเบียบของการว่าจ้างอย่างเคร่งครัดการว่าจ้างและการรับค่าจ้างถือว่าถูกต้อง”ท่านอายาตุลลอฮ์ฟาฏิลลังกะรอนี “ไม่อนุญาตและไม่มีสิทธิรับสิทธิประโยชน์ใดๆที่ได้มาโดยการนี้”ท่านอายาตุลลอฮ์บะฮ์ญัต “จะต้องเรียนชดเชยวิชานั้น”ท่านอายาตุลลอฮ์ตับรีซี “การลอกข้อสอบคือการโกหกภาคปฏิบัตินั่นเองและถือว่าไม่อนุญาตส่วนผู้ที่กระทำเช่นนี้แล้วได้บรรจุเข้าทำงานที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทักษะพิเศษก็ถือว่าสามารถทำได้แต่หากเป็นงานที่ต้องใช้ทักษะที่ตนไม่มีก็ไม่อนุญาตให้รับผิดชอบงานนั้นท่านอายาตุลลอฮ์ศอฟีโฆลพอยฆอนี “การคดโกงไม่ว่าในกรณีใดถือว่าไม่อนุญาต”ท่านอายาตุลลอฮ์มะการิมชีรอซี “ในกรณีที่มีการลอกข้อสอบในหนึ่งหรือสองวิชาแม้ว่าถือเป็นการกระทำที่ผิดแต่การรับวุฒิบัตรและการศึกษาต่อในระดับที่สูงกว่านั้นหรือรับงานด้วยกับวุฒิบัตรดังกล่าวถือว่าอนุญาต”ท่านอายาตุลลอฮ์ซิซตานี “เขาสามารถใช้ได้แม้นว่าการกระทำของเขา (การลอกข้อสอบ) ถือว่าไม่อนุญาต”

เนื้อหาที่มีผู้อ่านมากที่สุด

  • อะไรคือหน้าที่ๆภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีบ้าง?
    59392 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/07
    ความมั่นคงของชีวิตคู่ขึ้นอยู่กับความรักความผูกพัน ความเข้าใจ การให้เกียรติและเคารพสิทธิของกันและกัน และเพื่อที่สถาบันครอบครัวจะยังคงมั่นคงเป็นปึกแผ่น อิสลามจึงได้ระบุถึงสิทธิของทั้งภรรยาและสามี ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดหน้าที่สำหรับทั้งสองฝ่ายไว้ด้วย เนื่องจากเมื่ออัลลอฮ์ประทานสิทธิ ก็มักจะกำหนดหน้าที่กำกับไว้ด้วยเสมอ ข้อเขียนนี้จะนำเสนอหน้าที่ทางศาสนาบางส่วนที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังต่อไปนี้:1. ...
  • ดุอาใดบ้างที่ทำให้ได้รับพรเร็วที่สุด?
    56845 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/07/03
    มีดุอาที่รายงานจากอิมาม(อ.)หลายบทที่กล่าวขานกันว่าเห็นผลตอบรับอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาดุอาทั้งหมด ณ ที่นี้ได้ จึงขอกล่าวเพียงชื่อดุอาที่มีความสำคัญเป็นพิเศษดังต่อไปนี้1. ดุอาตะวัซซุ้ล2. ดุอาฟะร็อจ
  • กรุณานำเสนอบทดุอาเพื่อให้ได้พบคู่ครองที่เหมาะสมและเปี่ยมด้วยตักวา
    41675 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/12
    ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีปัจจัยและเงื่อนไขจำเพาะตามที่พระเจ้าทรงกำหนดหากเราประสงค์สิ่งใดย่อมต้องเริ่มจากการตระเตรียมปัจจัยและเงื่อนไขเสียก่อนปัจจัยของการแต่งงานคือการเสาะหาและศึกษาอย่างละเอียดทว่าเพื่อความสัมฤทธิ์ผลในการดังกล่าวจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์เพื่อทรงชี้นำการตัดสินใจและความพยายามของเราให้บรรลุดังใจหมาย.การอ่านบทดุอาต่างๆที่รายงานจากบรรดาอิมาม(อ)ต้องควบคู่กับความพยายามศึกษาและเสาะหาคู่ครองอย่างถี่ถ้วน. หนึ่งในดุอาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คือรายงานที่ตกทอดมาจากท่านอลี(อ)ดังต่อไปนี้: “ผู้ใดประสงค์จะมีคู่ครอง
  • ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
    38427 วิทยาการกุรอาน 2555/08/22
    หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
  • ครูบาอาจารย์และลูกศิษย์(นักเรียนนักศึกษา)มีหน้าที่ต่อกันอย่างไร?
    38419 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/11/14
    ผู้สอนและผู้เรียนมีหน้าที่ต่อกันหลายประการด้วยกันซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นสองส่วนก. หน้าที่ที่ผู้สอนมีต่อผู้เรียนอันประกอบด้วยหน้าที่ทางจริยธรรมการอบรมและวิชาการ ข. หน้าที่ที่ผู้เรียนมีต่อผู้สอนอาทิเช่นการให้เกียรติครูบาอาจารย์ยกย่องวิทยฐานะของท่านนอบน้อมถ่อมตน ...ฯลฯ ...
  • ก่อนการสร้างนบีอาดัม(อ) เคยมีการแต่งตั้งญินให้เป็นศาสนทูตสำหรับฝ่ายญินหรือไม่?
    33450 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/06/12
    อัลกุรอานยืนยันการมีอยู่ของเหล่าญินรวมทั้งได้อธิบายคุณลักษณะบางประการไว้ถึงแม้ว่าข้อมูลของเราเกี่ยวกับโลกของญินจะค่อนข้างจำกัดแต่เราสามารถพิสูจน์ว่าเหล่าญินเคยมีศาสนทูตที่เป็นญินก่อนการสร้างนบีอาดัมโดยอาศัยเหตุผลต่อไปนี้:1. เหล่าญินล้วนมีหน้าที่ทางศาสนาเฉกเช่นมนุษย์เราแน่นอนว่าหน้าที่ทางศาสนาย่อมเป็นผลต่อเนื่องจากการสั่งสอนศาสนาด้วยเหตุนี้จึงมั่นใจได้ว่าอัลลอฮ์ทรงเคยแต่งตั้งศาสนทูตสำหรับกลุ่มชนญินเพื่อการนี้2. เหล่าญินล้วนต้องเข้าสู่กระบวนการพิพากษาในวันกิยามะฮ์เฉกเช่นมนุษย์เราซึ่งโดยทั่วไปแล้วก่อนกระบวนการพิพากษาทุกกรณีจะต้องมีการชี้แจงข้อกฏหมายจนหมดข้อสงสัยเสียก่อนและการชี้แจงให้หมดข้อสงสัยคือหน้าที่ของบรรดาศาสนทูตนั่นเอง
  • เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
    27540 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/03/08
    ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
  • ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
    27236 การตีความ (ตัฟซีร) 2553/12/22
    เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม (อ.) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้กราบสุญูดอาดัมแต่ซาตานไม่ได้ก้มกราบบางคนกล่าวว่าชัยฎอน (อิบลิส) เป็นมะลาอิกะฮฺ, โดยอ้างเหตุผลว่าเนื่องจากโองการอัลกุรอานกล่าวละเว้น, อิบลิสไว้ในหมู่ของมะลาอิกะฮฺ (มะลาอิกะฮ์ทั้งหมดลดลงกราบยกเว้นอิบลิส) ดังนั้นอิบลิส
  • อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
    27133 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/07
    ในแวดวงวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้นบ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวาอีหม่านและอะมั้ลที่ศอลิห์
  • เมื่ออัลลอฮฺ มิทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายจากสิ่งใดทั้งหมด, หมายความว่าอำนาจของพระองค์ได้ถ่ายโอนไปสู่วัตถุปัจจัยกระนั้นหรือ?
    25210 รหัสยทฤษฎี 2555/05/17
    ใช่แล้ว การสร้างจากสิ่งไม่มีตัวตนมีความหมายตามกล่าวมา, เนื่องจากคำว่า ไม่มีตัวตน คือไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งอัลลอฮฺ ทรงสร้างสิ่งนั้นขึ้นมา รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้เช่นกันว่า อำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า มีความเป็นหนึ่งเดียวกันกับคุณลักษณะอื่นของพระองค์ ซึ่งเกินเลยอำนาจความรอบรู้ของมนุษย์ เนื่องจากสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลายได้ถูกสร้างขึ้นมา จากสิ่งไม่มี ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย เปรียบเสมือนภาพที่ถ่ายโอนอำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า เราเรียกนิยามนี้ว่า “การสะท้อนภาพ”[1]ซึ่งในรายงานฮะดีซได้ใช้คำว่า “การเกิดขึ้นของคุณลักษณะ” : อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงเป็นพระผู้อภิบาลของเราที่มีความเป็นนิรันดร์ ความรอบรู้คือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีความรอบรู้อันใด การได้ยินคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการได้ยินใดๆ การมองเห็นคือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการมองเห็นอันใด อำนาจคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีอำนาจอันใด และเนื่องจากพระองค์คือ ผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้สิ่งเหล่านั้นมีและเป็นไป ความรู้ของพระองค์ได้ปรากฏบนสิ่งถูกรู้จักทั้งหลาย การได้ยิน ได้ปรากฏบนสิ่งที่ได้ยินทั้งหลาย การมองเห็นได้ปรากฏบนสิ่งมองเห็น และอำนาจของพระองค์ ...