เมนูด้านบน
ติดต่อเรา
คำแนะนำ
เกี่ยวกับเรา
บล็อก
RSS
ไทยแลนด์
ไทยแลนด์
فارسی
العربية
اردو
English
Indonesia
Türkçe
Русский
Melayu
Français
Azəri
Español
Deutsch
Italiano
swahili
Hausa
Hindi
www.islamquest.net
หน้าหลัก
คลังคำตอบ
ลงทะเบียนคำถามใหม่
หน้าแรก
ติดต่อเรา
วันอาทิตย์, 08 ธันวาคม 2562
ทุกคำ
ตรงตามประโยค
แต่ละคำ (เฉพาะคำที่ค้นหา)
ทุกคำ (ที่เกี่ยวข้อง)
► กระทู้รวม
อัล-กุรอาน
پیامبران
ฮะดีซ
เทววิทยา
ปรัชญา
จริยศาสตร์
รหัสยะ
หลักกฎหมาย
ประวัติศาสตร์
อัตรชีวะ
judgments
مبانی شیعه
اندیشه های امام خمینی (ره)
مفاهیم قرآنی
ولایت فقیه و حکومت اسلامی
عرفان و اخلاق
Logic and Philosophy
Know More
Arabic Grammar
ทุกเวลา
24 ชั่วโมงที่ผ่านมา
สัปดาห์ที่ผ่านมา
เมื่อสองสัปดาห์ก่อน
สามสัปดาห์ก่อน
เดือนที่ผ่านมา
สามเดือนที่ผ่านมา
เมื่อหกเดือนก่อน
ข้อความ
หมวดหมู่
คำถามสำคัญ
รหัสคำถาม
เนื้อหาคำถาม
เนื้อหาคำตอบ
เนื้อหาคำถามและคำตอบ
การค้นหาขั้นสูง
ติดต่อเรา
لطفا سوالات دینی خود را از بخش ثبت پرسش ارسال نمایید
ชื่อ
*
อีเมล
*
เรื่อง
*
Captcha
*
ส่งอีเมล
สถาบันร่มเงาแห่งปัญญา (เราะวากฮิกมัต)
Iran - Qom - 55 meters Ammar Yasir Alley 15 No. 82
37716060 25 98+
37719740 25 98+
info@ravaqhekmat.ir
http://ravaqhekmat.ir
เชิญตั้งคำถาม
หมวดหมู่
อัล-กุรอาน
การตีความ (ตัฟซีร)
วิทยาการกุรอาน
The Fourteen Infallibles
پیامبران
آدم
شیث(هبة الله)
ادریس
نوح
سام
هود
صالح
ابراهیم
لاحج
لوط
اسماعیل
اسحاق
یعقوب
یوسف
ایوب
شعیب
موسی
هارون
یوشع
حزقیل
حیقوق
عزیر
دانیال
جرجیس
سموئیل
داود
سلیمان
ارمیاء
ذوالکفل
الیاس
یسع
یونس
شعیا
عمران
زکریا
یحیی
عیسی
خالد بن سنان
پیامبر اسلام(ص)
آیا پیامبر بودند؟
قیدار
بنیامین
کنفوسیوس
سقراط
بودا
مانی
افلاطون
ارسطو
طالوت
ذوالقرنین
شمعون
زرتشت
لقمان
خضر
الیا
حنظلة
کالب
باروخ
ฮะดีซ
ดิรอยะตุลฮะดีซ
ริญาลุลฮะดีซ
เทววิทยา
Philosophy
قدم
حدوث
علت و معلول
امتناع
وجوب
امکان
عدم
وجود
Theism
خدا و جهان
توکل
ارتباط انسان با جهان
هدف آفرینش
آفرینش انسان و جهان
عدل الهی
انسان و سرنوشت
حسن و قبح عقلی
بداء
انسان و اختیار
قضاء و قدر
امتحان و آزمایش الهی
دلایل عدل الهی
معنای عدل الهی
صفات الهی
صفات فعلیه
صفات ذاتیه
اسمای الهی
مراتب توحید
توحید در عبادت
توحید در افعال
توحید در ربوبیت
توحید در خالقیت
توحید در صفات
توحید در ذات
اثبات وجود خدای تعالی
ادله نقلی
ادله عقلی
The Recognition of the Holy Prophet
نبوت خاصه
نبوت حضرت محمد(ص)
معجزه حضرت محمد(ص)
ختم نبوت
پیامبران اولواالعزم
نبوت عامه
صفات و زندگی پیامبران
اسامی پیامبران
عصمت
وحی
ارتباط میان نبوت و معجزه
ضرورت بعثت پیامبران
The Recognition of Imams
ตะกียะฮ์
رجعت
توسل به اولیای الهی
محبت و اطاعت امامان
شرایط و صفات امام
علم
عصمت
تعیین امام
دلایل اثبات امامت
مصداق امام
امامت مهدی(عج)
اسامی امامان
رابطه نبوت و امامت
امامت در سنت
قرآن و امامت
ضرورت وجود امام
معاد شناسی
قیامت
بهشت و جهنم
جهنمیان
بهشتیان
شفاعت
پل صراط
اوصاف بهشت و جهنم
معاد جسمانی و روحانی
نشانه های برپایی قیامت
برزخ
تناسخ
دلائل عقلی و نقلی معاد
حقانیت مرگ
The Recognition of Religion History
ادیان
دیگر ادیان
ادیان ابراهیمی
مسیحیت
یهود
دین اسلام
فرقه های اسلامی
اهل سنت
Shi
مصالح و مفاسد در احکام دین
اسلام و عقلانیت
جامعیت اسلام
دین خاتم
فطرت
قلمرو دین
هرمنوتیک
زبان دین
نسبت علم و دین
ปรัชญาของศาสนา
دین نفس الامری
چیستی دین
เทววิทยาดั้งเดิม
เทววิทยาใหม่
ประวัติศาสตร์
ประวัติหลักกฎหมาย
تاريخ کلام
تاريخ بزرگان
ประวัติสถานที่
อัตรชีวะ
ชีวประวัติมะอฺซูม (อ.)
حضرت زهرا (س)
ชีวประวัตินักปราชญ์
Ethic and Mysticism
รหัสยทฤษฎี
کلیات
اصطلاحات
عرفان و فلسفه
عشق و عرفان
عرفان و شناخت نفس
تعریف عرفان
عرفان های کاذب
یوگا
کیهانی
شیطان پرستی
حلقه
اکنکار
آموزش عرفان
عرفان اسلامی و مکاتب دیگر
رمزی بودن و کتمان
قابلیت های عرفان
دین و عرفان
اصول و مبانی
توحیدشناسی
وحدت وجود
مقامات ذات
تجلی ذاتی
چینش وجود
موحدشناسی
انسان شناسی
انسان کامل
انسان و خدا
مقامات
فنا
مقام محمود
فتح المبین
شهود قلبی
شرح حال
Practical Mysticism and Ethic
کلیات
فرق عرفان عملی و نظری
دین و فرهنگ
تکامل اخلاقی
اصول و مبانی
نظری
انسان شناسی
معیار شناسی (دین و اخلاق)
شبهه شناسی
عملی
روش شناسی
اختلاف روش ها
دستور العمل ها
چله نشینی
ذکر
قرائت قرآن
ترک لذت
کنترل قوۀ خیال
استاد راهنما
رفیق راه
فضایل اخلاقی
توبه
مانع شناسی
حجاب های نورانی
عجب و خود پسندی
گناه و رذائل اخلاقی
درمان رذائل اخلاقی
مقام شناسی
قرب
فنا
طی الأرض
عشق
خلسه
شهود قلبی
مقام محمود
موت اختیاری
فتح المبین
خوف
Logic and Philosophy
Logic
کلیات
روش ریاضی دکارت و قطعیت
موضوع علم
ترتیب مباحث
منطق ارسطو و دیالکتیک
تعریف شناسی
معقول ثانی
ادراک جزئیات
سبر و تقسیم
استدلال شناسی
صناعات خمس
برهان لمی و انی
قیاس اقترانی و استثنائی
جدل یا دیالکتیک در قرآن
منبع شناسی
ปรัชญา
کلیات
معرفت شناسی
ماهیت
تجرد ادراکات
معقول ثانی
تأثیر پیش فرض های علمی
علم حضوری و حصولی
حکمت نظری و عملی
ابطال دور و تسلسل
امتناع اجتماع مثلین
ادراک جزئیات
ارزش معلومات
جوهر و عرض
وجود ذهنی
Philosophy
تباین یا تشکیک موجودات
وحدت وجود
کثرت موجودات
وجود ذهنی
حرکت جوهری
علیت و معلولیت
جوهر و عرض
تجرد یا مادیت صور نوعی
عالم مثال
เวลา
انسان شناسی
مبدأ شناسی
برهان نظم
برهان تمانع
برهان صدیقین
صفات واجب
رابطه واجب و ممکن
پاسخ به شبهات
پرسش و پاسخ
غایت شناسی
منبع شناسی
آراء شناسی
Arabic Grammar
Philology
Sarf & Nahw
Fasahat & Balaghat
Know More
คำถามสุ่ม
กฎของการออกนอกศาสนาของบุคคลหนึ่ง, ต้องขึ้นอยู่กับการตัดสินของผู้ปกครองหรือไม่?
3563
ปัจจัยที่ทำให้นมาซเป็นโมฆะ
2555/05/17
มีอยู่ 12 ประการที่ทำให้นมาซบาฏิล (เสีย) ซึ่งเรียกสิ่งเหล่านั้นว่า มุบฏิลลาตของนมาซ 1.สูญเสียหนึ่งในเงื่อนไขสำคัญระหว่างนมาซ 2.สิ่งที่เป็นสาเหตุทำให้วุฎูอฺ หรือฆุซลฺบาฏิล (เสีย) ได้เล็ดรอดออกมาขณะนมาซ 3. กอดอกขณะนมาซ 4.กล่าวคำว่า “อามีน” หลังจากกล่าวซูเราะฮฺฟาติฮะฮฺจบ 5. ผินหน้าออกจากกิบละฮฺ ขณะนมาซ 6.กล่าวคำพูดบางคำขณะนมาซ 7.หัวเราะโดยมีเสียดังออกมาหรือกระทำสิ่งที่คล้ายคลึงกัน 8.ตั้งใจร้องไห้เพื่อภารกิจทางโลก โดยมีเสียงดังออกมา 9. กระทำบางภารกิจอันเป็นเหตุทำให้สูญเสียสภาพนมาซ 10.กินและดื่ม
นมาซมีรหัสยะและปรัชญาอย่างไรในทัศนะของชีอะฮ์?
2843
ปรัชญาของศาสนา
2555/06/11
ไม่เป็นที่สงสัยเลยว่าบทบัญญัติทุกข้อของพระองค์ย่อมมีปรัชญาและเหตุผลแฝงอยู่ แต่ก็ไม่มีความจำเป็นจะต้องเสาะหาเหตุผลของบทบัญญัติแต่ละข้อเสมอไป มุสลิมจะต้องสยบแด่สาส์นแห่งวิวรณ์โดยดุษณี จิตที่สยบเช่นนี้แหล่ะคือความสมบูรณ์ของมนุษย์ ซึ่งจริงๆแล้วบทบัญญัติบางข้อก็มีจุดประสงค์เพื่อทดสอบจิตประเภทดังกล่าว อย่างไรก็ดี กุรอานได้ระบุถึงเหตุผลของบทบัญญัติศาสนาในหลายวาระด้วยกัน บรรดาอิมามมะอ์ศูมก็เคยกล่าวถึงประเด็นเหล่านี้ไว้ นอกจากนี้ นักวิชาการมุสลิมก็ได้ประพันธ์หนังสือเกี่ยวกับรหัสยะและปรัชญาของบทบัญญัติศาสนา อาทิเช่นองค์ประกอบต่างๆของนมาซไม่ว่าจะเป็น การเหนียต ตะชะฮุด รุกู้อ์ สุญูด สลาม ฯลฯ ไว้หลายเล่มด้วยกัน ...
การที่กล่าวว่า อัลลอฮฺทรงลืมปวงบ่าวบางคนของพระองค์หมายความว่าอย่างไร?
3432
การตีความ (ตัฟซีร)
2554/10/22
อัลลอฮฺ (ซบ.) ตรัสไว้ในอัลกุรอาน, ถึง 4 ครั้งด้วยกันเกี่ยวกับการลืมของปวงบ่าว โดยสัมพันธ์ไปยังพระองค์ ดังเช่น โองการหนึ่งกล่าวว่า : วันนี้เราได้ลืมพวกเขา ดังที่พวกเขาได้ลืมการพบกันในวันนี้” โองการข้างต้นและโองการที่คล้ายคลึงกันนี้สนับสนุนประเด็นดังกล่าวได้เป็นอย่างดีว่า ในปรโลก (หรือแม้แต่โลกนี้) จะมีชนกลุ่มหนึ่งถูกอัลลอฮฺ ลืมเลือนพวกเขา, แต่จุดประสงค์ของการหลงลืมนั้นหมายถึงอะไร?การพิสูจน์ในเชิงสติปัญญา และเทววิทยาที่มีอยู่ในปัจจุบันในตำราของอิสลามกล่าวว่า การหลงลืมหมายถึงการไม่ครอบคลุมทั่วถึงเหนือสภาพของสิ่งถูกสร้าง แน่นอน สิ่งนี้อยู่นอกเหนืออาตมันสมบูรณ์ของอัลลอฮฺ ดังเช่นพระดำรัสของพระองค์ตรัสว่า “องค์พระผู้อภิบาลมิใช่ผู้หลงลืมการงาน”จากคำพูดของบรรดาอิมามมะอฺซูม (อ.) ได้ประจักษ์ชัดเจนว่า จุดประสงค์ของการหลงลืมของอัลลอฮฺ (ซบ.) มิได้หมายถึงการลืมเลือน การไม่มีภูมิความรู้ และการไม่รู้แต่อย่างใด, เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ...
การขอความช่วยเหลือจากสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮฺ จะเข้ากันกับเตาฮีดหรือไม่
5397
توحید و شرک
2555/08/22
ถ้าเป็นการขอความช่วยเหลือจากสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮฺ ด้วยความเชื่อที่ว่าบรรดาหมู่มิตรของอัลลอฮฺ ท่านเหล่านั้นคือผู้ทำให้คำวิงวอนขอของท่านสมประสงค์ ซึ่งไม่จำเป็นต้องวิงวอนขอต่ออัลลอฮฺอีก แน่นอน สิ่งนี้เป็นชิริกฮะรอม และเท่ากับเป็นการกระทำที่ต่อต้านเตาฮีด ถือว่าไม่อนุญาตให้กระทำเด็ดขาด แต่ถ้ามีความเชื่อว่า บรรดาท่านเหล่านี้จะทำให้คำวิงวอนของท่านถูกตอบรับ โดยอนุมัติของอัลลอฮฺ และโดยอำนาจที่พระองค์แก่พวกเขา ซึ่งสิ่งนี้นอกจากจะไม่เป็นชิริกแล้ว ทว่ายังเป็นหนึ่งในความหมายของเตาฮีด ซึ่งไม่มีอุปสรรคอันใดทั้งสิ้น ...
คำว่า อัซเซาะมัด ในอัลลอฮฺ อัซเซาะมัดหมายถึงอะไร?
5687
การตีความ (ตัฟซีร)
2555/05/17
สำหรับคำว่า “เซาะมัด” ในอภิธานศัพท์, ริวายะฮฺ และตัฟซีร ได้กล่าวถึงความหมายไว้มากมาย, ด้วยเหตุนี้ สามารถสรุปอธิบายโดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่างไว้ใน 3 กลุ่มความหมายด้วยกัน (อภิธานศัพท์ รายงานฮะดีซ และตัซรีร) ก) รอฆิบเอซฟาฮานียฺ กล่าวไว้ในสารานุกรมว่า : เซาะมัด หมายถึง นาย จอมราชันย์ ความยิ่งใหญ่ สำหรับการปฏิบัติภารกิจหนึ่งต้องไปหาเขา, บางคนกล่าวว่า : “เซาะมัด” หมายถึงสิ่งๆ หนึ่งซึ่งภายในไม่ว่าง, ทว่าเต็มล้น[1] ข) อิมามฮุซัยนฺ (อ.) อธิบายความหมาย “เซาะมัด” ไว้ 5 ความหมายด้วยกัน กล่าวคือ
วะฮฺยูคืออะไร ประทานลงมาแก่ศาสดาอย่างไร
12093
อัล-กุรอาน
2553/10/21
วะฮฺยู (วิวรณ์) "ในเชิงภาษาความถึง การบ่ชี้อย่างรวดเร็ว ซึ่งอาจเป็นไปได้ที่เป็นชนิดหนึ่งของคำ หรือเป็นรหัสหรืออาจเป็นเสียงอย่างเดียวปราศจากการผสม หรืออาจเป็นการบ่งชี้และสิ่งที่คล้ายคลึงกัน ความหมายและการนำไปใช้ที่แตกต่างกันของคำนี้ในพระคัมภีร์กุรอาน ทำให้เราได้พบหลายประเด็นที่สำคัญ : อันดับแรก วะฮฺยูไม่ได้เฉพาะพิเศษสำหรับมนุษย์เท่านั้น ทว่าหมายรวมถึงพืช สัตว์ และสิ่งไม่มีชีวิตอื่นด้วย .... (วะฮฺยู เมื่อสัมพันธ์ไปยังสิ่งมีชีวิตก็คือ การชี้นำอาตมันและสัญชาติญาณ หรือเรียกอีกอย่างว่าเป็นการชี้นำในเชิงตักวีนีของพระเจ้า เพื่อชี้นำพวกเขาไปยังเป้าหมายของพวกเขา) แต่ระดับชั้นที่สูงที่สุดของวะฮฺยู เฉพาะเจาะจงสำหรับบรรดาศาสดา และหมู่มวลมิตรของพระองค์เท่านั้น ซึ่งจุดประสงค์ในที่นี้หมายถึง การดลความหมายนบหัวใจของท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) หรือการสนทนาของพระเจ้ากับท่านเหล่านั้น บทสรุปก็คือโดยหลักการแล้วการดลอื่นๆ ...
จะสามารถพิสูจน์การมีอยู่ของท่านอิมามมะฮฺดียฺ (อ.) และการปรากฏกายของท่าน ด้วยอัลกุรอานได้อย่างไร?
3422
เทววิทยาดั้งเดิม
2554/11/21
เบื้องต้นจำเป็นต้องรับรู้ว่าอัลกุรอานเพียงแค่กล่าวเป็นภาพรวมเอาไว้ส่วนรายละเอียดและคำอธิบายปรากฏอยู่ในซุนนะฮฺของศาสดา (ซ็อลฯ).
จริงหรือไม่ที่บางคนเชื่อว่าพระเจ้าเป็นเพียงแค่พลังงานเท่านั้น?
3179
เทววิทยาดั้งเดิม
2554/08/23
อัลลอฮ์ทรงดำรงอยู่โดยไม่พึ่งพาสิ่งใดทรงปรีชาญาณทรงมีเจตน์จำนงและปราศจากข้อจำกัดและความบกพร่องทุกประการแต่พลังงานยังมีข้อบกพร่องและข้อจำกัดมากมายอีกทั้งยังปราศจากความรู้และการตัดสินใจเมื่อเทียบคุณสมบัติของพลังงานกับคุณลักษณะของพระเจ้าก็จะทราบว่าพระเจ้ามิไช่พลังงานอย่างแน่นอนเนื่องจาก: พลังงานคือสิ่งที่ขับเคลื่อนให้เกิดกริยาและปฏิกริยาต่างๆโดยพลังงานมีลักษณะที่หลากหลายไม่ตายตัวและสามารถผันแปรได้หลายรูปแบบพลังงานมีคุณสมบัติเด่นดังนี้1. พลังงานมีสถานะตามวัตถุที่บรรจุ2. พลังงานมีแหล่งกำเนิด3. พลังงานมีข้อจำกัดบางประการ4. พลังงานเปลี่ยนรูปได้แต่อัลลอฮ์มิได้ถูกกำกับไว้โดยวัตถุใดๆ
การจ่ายคุมซ์เป็นทรัพย์สินเพียงครั้งเดียว แล้วต่อไปไม่วาญิบต้องจ่ายคุมซ์อีกใช่หรือไม่?
2988
สิทธิและกฎหมาย
2554/06/22
ดั่งเป็นที่ทราบกันดีว่าคุมซ์คือหนึ่งในการบริจาคทรัพย์อันเป็นวาญิบสำคัญในอิสลามเป็นหนึ่งในหลักการอิสลามและเป็นอิบาดะฮฺด้วยด้วยสาเหตุนี้เองจำเป็นต้องเนียต (ตั้งเจตคติ) เพื่อแสวงความใกล้ชิดต่ออัลลอฮฺ (ซบ.)ทรัพย์สินและเงินทุนต่างๆที่ต้องจ่ายคุมซ์ถ้าหากจ่ายคุมซ์ไปแล้วเพียงครั้งเดียวไม่วาญิบต้องจ่ายคุมซ์อีกแม้ว่ากาลเวลาจะผ่านพ้นไปนานหลายปีก็ตามแต่ถ้าเป็นทรัพย์ที่เติบโตหรือมีราคาสูงขึ้นกว่าเดิมทุนเดิมไม่ต้องจ่ายคุมซ์แต่ส่วนที่เป็นผลกำไรงอกเงยอออกมาวาญิบต้องจ่ายคุมซ์[1][1] เตาฏีฮุลมะซาอิลมะริญิอฺ
การเข้าร่วมงานแต่งงานที่มีจำนวนแขกจำ ซึ่งกำหนดไว้ก่อนแล้วล่วงหนา แต่แขกที่มาไม่มีใครคุมผ้าเรียบร้อยสักคนเมื่ออยู่ต่อหน้าเจ้าบ่าว กรณีนี้กฎเกณฑ์ทางศาสนบัญญัติกล่าวไว้อย่างไร (และลักษณะงานเช่นนี้ โดยทั่วไปเจ้าบ่าวและมะฮาริมที่เข้าร่วมงานแต่ง ตลอดงานนิกาฮฺจะแยกระหว่างชายหญิง)
356
สิทธิและกฎหมาย
2562/06/15
เริ่มแรกเกี่ยวกับคำถามข้างต้น ขอกล่าวถึงทัศนะของมัรญิอฺตักลีด 1.งานสมรสตามประเพณีอิสลาม คือการร่วมแสดงความสุข รื่นเริง โดยปราศจากการกระทำความผิดบาปต่าง ๆ หรือภารกิจต่าง ๆ ที่ฮะรอม และมารยาทอันไม่ดีไม่งาม ที่มิใช่วิสัยของมนุษย์[1] 2.เมื่ออยู่ต่อหน้าเจ้าบ่าว หรือนามะฮฺรัมคนอื่น จำเป็นต้องรักษาฮิญาบ อย่างเคร่งครัด ซึ่งตรงนี้ไม่แตกต่างกันระหว่างงานสมรส และงานชุมนุมอย่างอื่น[2] 3.การเข้าร่วมงานสมรส หรืองานสังสรรค์อื่นๆ ซึ่งภายในงานนั้นมิได้เอาใจใส่สิ่งเป็นวาญิบในอิสลาม (เช่น แขกที่มาอยู่รวมกันทั้งชายและหญิง มีการเต้นรำ หรือเปิดเพลงที่ฮะรอม อย่างเปิดเผย) ถือว่าฮะรอม[3] 4. ถ้างานสมรสมิได้เป็นไปในลักษณะที่ว่า เป็นงานสังสรรค์แบบไร้สาระ ฮะรอม เป็นบาป หรือการปรากฏตัวในงานเหล่านั้น มิได้เป็นการสนับสนุนการก่อความเสียหาย ซึ่งการเข้าร่วมในงานสังสรรค์เช่นนั้น โดยทั่วไปไม่ถือว่าเป็นการสนับสนุน ถือว่าไม่เป็นไร
เนื้อหาที่มีผู้อ่านมากที่สุด
อะไรคือหน้าที่ๆภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีบ้าง?
50645
สิทธิและกฎหมาย
2554/07/07
ความมั่นคงของชีวิตคู่ขึ้นอยู่กับความรักความผูกพัน ความเข้าใจ การให้เกียรติและเคารพสิทธิของกันและกัน และเพื่อที่สถาบันครอบครัวจะยังคงมั่นคงเป็นปึกแผ่น อิสลามจึงได้ระบุถึงสิทธิของทั้งภรรยาและสามี ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดหน้าที่สำหรับทั้งสองฝ่ายไว้ด้วย เนื่องจากเมื่ออัลลอฮ์ประทานสิทธิ ก็มักจะกำหนดหน้าที่กำกับไว้ด้วยเสมอ ข้อเขียนนี้จะนำเสนอหน้าที่ทางศาสนาบางส่วนที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังต่อไปนี้:1. ...
ดุอาใดบ้างที่ทำให้ได้รับพรเร็วที่สุด?
47944
จริยธรรมปฏิบัติ
2554/07/03
มีดุอาที่รายงานจากอิมาม(อ.)หลายบทที่กล่าวขานกันว่าเห็นผลตอบรับอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาดุอาทั้งหมด ณ ที่นี้ได้ จึงขอกล่าวเพียงชื่อดุอาที่มีความสำคัญเป็นพิเศษดังต่อไปนี้1. ดุอาตะวัซซุ้ล2. ดุอาฟะร็อจ
กรุณานำเสนอบทดุอาเพื่อให้ได้พบคู่ครองที่เหมาะสมและเปี่ยมด้วยตักวา
35133
จริยธรรมปฏิบัติ
2554/06/12
ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีปัจจัยและเงื่อนไขจำเพาะตามที่พระเจ้าทรงกำหนดหากเราประสงค์สิ่งใดย่อมต้องเริ่มจากการตระเตรียมปัจจัยและเงื่อนไขเสียก่อนปัจจัยของการแต่งงานคือการเสาะหาและศึกษาอย่างละเอียดทว่าเพื่อความสัมฤทธิ์ผลในการดังกล่าวจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์เพื่อทรงชี้นำการตัดสินใจและความพยายามของเราให้บรรลุดังใจหมาย.การอ่านบทดุอาต่างๆที่รายงานจากบรรดาอิมาม(อ)ต้องควบคู่กับความพยายามศึกษาและเสาะหาคู่ครองอย่างถี่ถ้วน. หนึ่งในดุอาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คือรายงานที่ตกทอดมาจากท่านอลี(อ)ดังต่อไปนี้: “ผู้ใดประสงค์จะมีคู่ครอง
ครูบาอาจารย์และลูกศิษย์(นักเรียนนักศึกษา)มีหน้าที่ต่อกันอย่างไร?
32583
จริยธรรมปฏิบัติ
2554/11/14
ผู้สอนและผู้เรียนมีหน้าที่ต่อกันหลายประการด้วยกันซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นสองส่วนก. หน้าที่ที่ผู้สอนมีต่อผู้เรียนอันประกอบด้วยหน้าที่ทางจริยธรรมการอบรมและวิชาการ ข. หน้าที่ที่ผู้เรียนมีต่อผู้สอนอาทิเช่นการให้เกียรติครูบาอาจารย์ยกย่องวิทยฐานะของท่านนอบน้อมถ่อมตน ...ฯลฯ ...
ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
27667
วิทยาการกุรอาน
2555/08/22
หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
ก่อนการสร้างนบีอาดัม(อ) เคยมีการแต่งตั้งญินให้เป็นศาสนทูตสำหรับฝ่ายญินหรือไม่?
27260
เทววิทยาดั้งเดิม
2554/06/12
อัลกุรอานยืนยันการมีอยู่ของเหล่าญินรวมทั้งได้อธิบายคุณลักษณะบางประการไว้ถึงแม้ว่าข้อมูลของเราเกี่ยวกับโลกของญินจะค่อนข้างจำกัดแต่เราสามารถพิสูจน์ว่าเหล่าญินเคยมีศาสนทูตที่เป็นญินก่อนการสร้างนบีอาดัมโดยอาศัยเหตุผลต่อไปนี้:1. เหล่าญินล้วนมีหน้าที่ทางศาสนาเฉกเช่นมนุษย์เราแน่นอนว่าหน้าที่ทางศาสนาย่อมเป็นผลต่อเนื่องจากการสั่งสอนศาสนาด้วยเหตุนี้จึงมั่นใจได้ว่าอัลลอฮ์ทรงเคยแต่งตั้งศาสนทูตสำหรับกลุ่มชนญินเพื่อการนี้2. เหล่าญินล้วนต้องเข้าสู่กระบวนการพิพากษาในวันกิยามะฮ์เฉกเช่นมนุษย์เราซึ่งโดยทั่วไปแล้วก่อนกระบวนการพิพากษาทุกกรณีจะต้องมีการชี้แจงข้อกฏหมายจนหมดข้อสงสัยเสียก่อนและการชี้แจงให้หมดข้อสงสัยคือหน้าที่ของบรรดาศาสนทูตนั่นเอง
เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
23199
เทววิทยาดั้งเดิม
2554/03/08
ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
21788
การตีความ (ตัฟซีร)
2553/12/22
เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม (อ.) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้กราบสุญูดอาดัมแต่ซาตานไม่ได้ก้มกราบบางคนกล่าวว่าชัยฎอน (อิบลิส) เป็นมะลาอิกะฮฺ, โดยอ้างเหตุผลว่าเนื่องจากโองการอัลกุรอานกล่าวละเว้น, อิบลิสไว้ในหมู่ของมะลาอิกะฮฺ (มะลาอิกะฮ์ทั้งหมดลดลงกราบยกเว้นอิบลิส) ดังนั้นอิบลิส
อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
21341
การตีความ (ตัฟซีร)
2555/02/07
ในแวดวงวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้นบ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวาอีหม่านและอะมั้ลที่ศอลิห์
เมื่ออัลลอฮฺ มิทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายจากสิ่งใดทั้งหมด, หมายความว่าอำนาจของพระองค์ได้ถ่ายโอนไปสู่วัตถุปัจจัยกระนั้นหรือ?
20511
รหัสยทฤษฎี
2555/05/17
ใช่แล้ว การสร้างจากสิ่งไม่มีตัวตนมีความหมายตามกล่าวมา, เนื่องจากคำว่า ไม่มีตัวตน คือไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งอัลลอฮฺ ทรงสร้างสิ่งนั้นขึ้นมา รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้เช่นกันว่า อำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า มีความเป็นหนึ่งเดียวกันกับคุณลักษณะอื่นของพระองค์ ซึ่งเกินเลยอำนาจความรอบรู้ของมนุษย์ เนื่องจากสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลายได้ถูกสร้างขึ้นมา จากสิ่งไม่มี ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย เปรียบเสมือนภาพที่ถ่ายโอนอำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า เราเรียกนิยามนี้ว่า “การสะท้อนภาพ”[1]ซึ่งในรายงานฮะดีซได้ใช้คำว่า “การเกิดขึ้นของคุณลักษณะ” : อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงเป็นพระผู้อภิบาลของเราที่มีความเป็นนิรันดร์ ความรอบรู้คือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีความรอบรู้อันใด การได้ยินคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการได้ยินใดๆ การมองเห็นคือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการมองเห็นอันใด อำนาจคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีอำนาจอันใด และเนื่องจากพระองค์คือ ผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้สิ่งเหล่านั้นมีและเป็นไป ความรู้ของพระองค์ได้ปรากฏบนสิ่งถูกรู้จักทั้งหลาย การได้ยิน ได้ปรากฏบนสิ่งที่ได้ยินทั้งหลาย การมองเห็นได้ปรากฏบนสิ่งมองเห็น และอำนาจของพระองค์ ...
ลิ้งก์ต่างๆ
สารานุกรมอิสลาม
www.islampedia.ir
สำนักงาน Ayatollah Hadavi Tehrani
www.hadavi.info
สถาบันร่มเงาแห่งปัญญา (เราะวากฮิกมัต)
www.ravaqhekmat.ir
Developed by
AfarineshWeb