การค้นหาขั้นสูง
ผู้เยี่ยมชม
10293
อัปเดตเกี่ยวกับ: 2553/10/21
 
รหัสในเว็บไซต์ fa1863 รหัสสำเนา 10189
คำถามอย่างย่อ
ทำไม อิบลิส (ซาตาน) จึงถูกสร้างขึ้นจากไฟ ?
คำถาม
ทำไม อิบลิส (ซาตาน) จึงถูกสร้างขึ้นจากไฟ ?
คำตอบโดยสังเขป
คำถามนี้ไม่มีคำตอบแบบสั้น โปรดเลือกปุ่มคำตอบที่สมบูรณ์
คำตอบเชิงรายละเอียด

พระเจ้าผู้ทรงสูงส่งเกรียงไกรและทรงเตชานุภาพ การกระทำของพระองค์ทั้งหมดจะขึ้นอยู่กับวิทยปัญญาที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น สรรพสิ่งทั้งหมดจึงถูกสร้างขึ้นมาบนพื้นฐานของวิทยปัญญาที่มีประสิทธิภาพทั้งสิ้น พระองค์ได้เลือกสภาพที่ดีที่สุดที่ที่มีความเหมาะสมในการสร้างแก่พวกเขา[1]

การสร้างซาตานจากไฟก้อยู่วิทยปัญญาศักดิ์สิทธิ์ของพระเจ้าเช่นกัน  ซาตานเป็นหนึ่งในประเภทของญินที่ถูกสร้างขึ้นจากไฟ และมีร่างกายบอบบาง ในการจัดหมวดหมู่ของเรือนร่างโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ส่วน กล่าวคือ :

เรือนร่างสกปรก เช่น สิ่งมีชีวิตประเภทสัตว์หรือที่คล้ายกับสัตว์และร่างกายมนุษย์ เนื่องจากได้ถูกสร้างขึ้นจากดินเหนียว และอีกประเภทหนึ่งคือ ร่างกายที่บอบบาง เช่น ญินซึ่งได้ถูกสร้างจากไฟ และร่างกายทั้งสองประเภทนี้มี ปริมาณ และขนาด แต่มีความแตกต่างกันอย่างแท้จริงในพวกเขา เช่น ความแตกต่างดังกล่าวคือปีศาจนั้นมนุษย์ไม่อาจมองเห็นด้วยสายตาได้ แต่เนื่องจากการร่างกายที่บอบบาง, มีความเป็นไปได้ว่าซาตานจะมาในรูปแบบที่แตกต่างกัน และสามารถไปได้ทุกที่ที่มีความต้องการ แต่มารสามารถมองเห็นมนุษย์ได้ตลอดเวลา ประกอบกับเป็นไปไม่ได้ที่มนุษย์จะเปลี่ยนแปลงสถานภาพและสถานที่อย่างรวดเร็ว การเคลื่อนไหวของเขาค่อยๆ เป็นไปอย่างช้าๆ

วิทยปัญญาในการสร้างอิบลิสขึ้นจากไฟ สามารถค้นหาได้จากประเด็นดังต่อไปนี้ :

ประการที่หนึ่ง: เพื่อการทดลองมาร, มารถูกสร้างขึ้นมาจากไฟส่วนมนุษย์ถูกสร้างขึ้นจากดินเหนียว มารมองว่าไฟนั้นดีกว่าดิน จึงคิดว่าตัวเองนั้นเหนือมนุษย์ด้วยเหตุนี้มารจึงได้ฝ่าฝืนคำสั่งของพระเจ้า ดังนั้น สาเหตุหลักของการสร้างชัยฎอนจากความชั่วร้ายของไฟ, ก็เพื่อการทดลองและทดสอบว่า ลักษณะภายนอกของมารที่สร้างจากไฟไหม้จะหยิ่งผยอง หรือว่าจะเชื่อฟังคำสั่งของพระเจ้าตลอดไป ซึ่งจะเห็นว่าเหตุผลของมารที่ไม่สุญูดต่ออาดัมได้ฝ่าฝืนคำสั่งของพระเจ้า ก็คือเหตุผลดังกล่าวนี้เอง “พระองค์ทรงสร้างฉันจากไฟและบังเกิดเขามาจากโคลนตรม"[2]

ประการที่สอง : การทดลองและการทดสอบมนุษย์ เพราะชัยฎอนคือศัตรูสาบานของมนุษย์, เป็นสิ่งที่มากด้วยเล่ห์เพทุบายซึ่งสามารถทำให้มนุษย์มีความเชื่อที่ผิด มีการกระทำและพฤติกรรมชั่วร้าย ชัยฎอนคือแหล่งที่มาของการหยุแย่และการทะเลาะวิวาทเป็นจุดเริ่มต้นของการล่อลวงและกับดัก ในลักษณะที่ว่าสิ่งที่เป็นโมฆะไม่มีความจริงใด ๆ ทั้งสิ้น แต่กลับให้มองเป็นความจริงหรือความถูกต้อง เทคนิคของชัยฎอนคือเล่ห์กล และใช้วิธีการที่มนุษย์ไม่อาจค้นพบได้ ชัยฎอนได้ลวงล่อจากภายในให้หลงทาง และเนื่องจากมารคือความละเอียดอ่อนบอบบาง จึงสามารถมีอิทธิพลกับภายในของมนุษย์ได้อย่างง่ายดาย แน่นอนว่า การมีอิทธิพลมารนั้นขึ้นอยู่กับเจตนาร้ายของมนุษย์ หมายความว่ามนุษย์เองที่เปิดใจต้อนรับชัยฎอน ถ้าหัวใจของมนุษย์ไม่ปรารถนา แน่นอน ชัยฎอนจะไม่สามารถมีอิทธิพลเหนือเขาได้เลย

แม้ว่ามนุษย์ไม่สามารถมองเห็นซาตานได้ ซึ่งถูกซ่อนเร้นไปจากสายตาของมนุษย์ แต่มนุษย์จะต้องระมัดระวังและต้องหลีกเลี่ยงความเป็นปฏิปักษ์กับศัตรูประเภทนี้ อัลกุรอานเตือนสำทับว่า : โอ้ ลูกหลานของอาดัมเอ๋ย! จงอย่าให้ชัยฏอน หลอกลวงสูเจ้า เช่นเดียวกับที่มันได้ให้พ่อแม่ของพวกเจ้าออกจากสวนสวรรค์มาแล้ว โดยที่มันได้ถอดเครื่องนุ่งห่มของเขาทั้งสองออกเพื่อที่จะให้เขาทั้ง สองเห็นสิ่งที่น่าละอายของเขาทั้งสอง แท้จริงทั้งมัน และเผ่าพันธุ์ของมันมองเห็นพวกเจ้าโดยที่พวกเจ้าไม่เห็นพวกมัน”[3] และนี่คือการทดลองมนุษย์ที่กำลังเผชิญหน้ากับศัตรูดังกล่าว



[1] แม้ว่าเราจะไม่เข้าใจในวิทยปัญญาเหล่านั้นก็ตาม เนื่องจากสติปัญญาและความรู้อันจำกัดของเรา จึงทำให้เราไม่สามารถรับรู้วิทยปัญญาอื่นอีกมากมาย

[2] อัลกุรอาน บทอะอ์รอฟ 12

[3] อัลกุรอาน บทอะอ์รอฟ 27

แปลคำถามภาษาต่างๆ
ความเห็น
จำนวนความเห็น 0
กรุณาป้อนค่า
ตัวอย่าง : Yourname@YourDomane.ext
กรุณาป้อนค่า
<< ลากฉัน
กรุณากรอกจำนวนที่ถูกต้องของ รหัสรักษาความปลอดภัย

เนื้อหาที่มีผู้อ่านมากที่สุด

  • อะไรคือหน้าที่ๆภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีบ้าง?
    59395 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/07
    ความมั่นคงของชีวิตคู่ขึ้นอยู่กับความรักความผูกพัน ความเข้าใจ การให้เกียรติและเคารพสิทธิของกันและกัน และเพื่อที่สถาบันครอบครัวจะยังคงมั่นคงเป็นปึกแผ่น อิสลามจึงได้ระบุถึงสิทธิของทั้งภรรยาและสามี ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดหน้าที่สำหรับทั้งสองฝ่ายไว้ด้วย เนื่องจากเมื่ออัลลอฮ์ประทานสิทธิ ก็มักจะกำหนดหน้าที่กำกับไว้ด้วยเสมอ ข้อเขียนนี้จะนำเสนอหน้าที่ทางศาสนาบางส่วนที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังต่อไปนี้:1. ...
  • ดุอาใดบ้างที่ทำให้ได้รับพรเร็วที่สุด?
    56845 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/07/03
    มีดุอาที่รายงานจากอิมาม(อ.)หลายบทที่กล่าวขานกันว่าเห็นผลตอบรับอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาดุอาทั้งหมด ณ ที่นี้ได้ จึงขอกล่าวเพียงชื่อดุอาที่มีความสำคัญเป็นพิเศษดังต่อไปนี้1. ดุอาตะวัซซุ้ล2. ดุอาฟะร็อจ
  • กรุณานำเสนอบทดุอาเพื่อให้ได้พบคู่ครองที่เหมาะสมและเปี่ยมด้วยตักวา
    41676 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/12
    ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีปัจจัยและเงื่อนไขจำเพาะตามที่พระเจ้าทรงกำหนดหากเราประสงค์สิ่งใดย่อมต้องเริ่มจากการตระเตรียมปัจจัยและเงื่อนไขเสียก่อนปัจจัยของการแต่งงานคือการเสาะหาและศึกษาอย่างละเอียดทว่าเพื่อความสัมฤทธิ์ผลในการดังกล่าวจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์เพื่อทรงชี้นำการตัดสินใจและความพยายามของเราให้บรรลุดังใจหมาย.การอ่านบทดุอาต่างๆที่รายงานจากบรรดาอิมาม(อ)ต้องควบคู่กับความพยายามศึกษาและเสาะหาคู่ครองอย่างถี่ถ้วน. หนึ่งในดุอาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คือรายงานที่ตกทอดมาจากท่านอลี(อ)ดังต่อไปนี้: “ผู้ใดประสงค์จะมีคู่ครอง
  • ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
    38429 วิทยาการกุรอาน 2555/08/22
    หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
  • ครูบาอาจารย์และลูกศิษย์(นักเรียนนักศึกษา)มีหน้าที่ต่อกันอย่างไร?
    38421 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/11/14
    ผู้สอนและผู้เรียนมีหน้าที่ต่อกันหลายประการด้วยกันซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นสองส่วนก. หน้าที่ที่ผู้สอนมีต่อผู้เรียนอันประกอบด้วยหน้าที่ทางจริยธรรมการอบรมและวิชาการ ข. หน้าที่ที่ผู้เรียนมีต่อผู้สอนอาทิเช่นการให้เกียรติครูบาอาจารย์ยกย่องวิทยฐานะของท่านนอบน้อมถ่อมตน ...ฯลฯ ...
  • ก่อนการสร้างนบีอาดัม(อ) เคยมีการแต่งตั้งญินให้เป็นศาสนทูตสำหรับฝ่ายญินหรือไม่?
    33454 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/06/12
    อัลกุรอานยืนยันการมีอยู่ของเหล่าญินรวมทั้งได้อธิบายคุณลักษณะบางประการไว้ถึงแม้ว่าข้อมูลของเราเกี่ยวกับโลกของญินจะค่อนข้างจำกัดแต่เราสามารถพิสูจน์ว่าเหล่าญินเคยมีศาสนทูตที่เป็นญินก่อนการสร้างนบีอาดัมโดยอาศัยเหตุผลต่อไปนี้:1. เหล่าญินล้วนมีหน้าที่ทางศาสนาเฉกเช่นมนุษย์เราแน่นอนว่าหน้าที่ทางศาสนาย่อมเป็นผลต่อเนื่องจากการสั่งสอนศาสนาด้วยเหตุนี้จึงมั่นใจได้ว่าอัลลอฮ์ทรงเคยแต่งตั้งศาสนทูตสำหรับกลุ่มชนญินเพื่อการนี้2. เหล่าญินล้วนต้องเข้าสู่กระบวนการพิพากษาในวันกิยามะฮ์เฉกเช่นมนุษย์เราซึ่งโดยทั่วไปแล้วก่อนกระบวนการพิพากษาทุกกรณีจะต้องมีการชี้แจงข้อกฏหมายจนหมดข้อสงสัยเสียก่อนและการชี้แจงให้หมดข้อสงสัยคือหน้าที่ของบรรดาศาสนทูตนั่นเอง
  • เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
    27541 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/03/08
    ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
  • ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
    27238 การตีความ (ตัฟซีร) 2553/12/22
    เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม (อ.) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้กราบสุญูดอาดัมแต่ซาตานไม่ได้ก้มกราบบางคนกล่าวว่าชัยฎอน (อิบลิส) เป็นมะลาอิกะฮฺ, โดยอ้างเหตุผลว่าเนื่องจากโองการอัลกุรอานกล่าวละเว้น, อิบลิสไว้ในหมู่ของมะลาอิกะฮฺ (มะลาอิกะฮ์ทั้งหมดลดลงกราบยกเว้นอิบลิส) ดังนั้นอิบลิส
  • อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
    27136 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/07
    ในแวดวงวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้นบ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวาอีหม่านและอะมั้ลที่ศอลิห์
  • เมื่ออัลลอฮฺ มิทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายจากสิ่งใดทั้งหมด, หมายความว่าอำนาจของพระองค์ได้ถ่ายโอนไปสู่วัตถุปัจจัยกระนั้นหรือ?
    25214 รหัสยทฤษฎี 2555/05/17
    ใช่แล้ว การสร้างจากสิ่งไม่มีตัวตนมีความหมายตามกล่าวมา, เนื่องจากคำว่า ไม่มีตัวตน คือไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งอัลลอฮฺ ทรงสร้างสิ่งนั้นขึ้นมา รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้เช่นกันว่า อำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า มีความเป็นหนึ่งเดียวกันกับคุณลักษณะอื่นของพระองค์ ซึ่งเกินเลยอำนาจความรอบรู้ของมนุษย์ เนื่องจากสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลายได้ถูกสร้างขึ้นมา จากสิ่งไม่มี ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย เปรียบเสมือนภาพที่ถ่ายโอนอำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า เราเรียกนิยามนี้ว่า “การสะท้อนภาพ”[1]ซึ่งในรายงานฮะดีซได้ใช้คำว่า “การเกิดขึ้นของคุณลักษณะ” : อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงเป็นพระผู้อภิบาลของเราที่มีความเป็นนิรันดร์ ความรอบรู้คือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีความรอบรู้อันใด การได้ยินคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการได้ยินใดๆ การมองเห็นคือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการมองเห็นอันใด อำนาจคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีอำนาจอันใด และเนื่องจากพระองค์คือ ผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้สิ่งเหล่านั้นมีและเป็นไป ความรู้ของพระองค์ได้ปรากฏบนสิ่งถูกรู้จักทั้งหลาย การได้ยิน ได้ปรากฏบนสิ่งที่ได้ยินทั้งหลาย การมองเห็นได้ปรากฏบนสิ่งมองเห็น และอำนาจของพระองค์ ...