การค้นหาขั้นสูง
ผู้เยี่ยมชม
8269
อัปเดตเกี่ยวกับ: 2554/12/21
 
รหัสในเว็บไซต์ fa11567 รหัสสำเนา 19928
หมวดหมู่ تاريخ بزرگان
คำถามอย่างย่อ
มุคตารคือ ษะกะฟีย์ ซึ่งในหัวใจมีความรักให้ท่านอบูบักร์และอุมมัรเท่านั้น? แล้วทำไมเขาจึงไม่ปกป้องท่านอิมามฮุซัยนฺ (อ.) ในกัรบะลาอฺ?
คำถาม
ถูกต้องหรือไม่ทีว่ามุคตารเป็นษะกะฟีย์ มีความรักให้ท่นอบูกบักร์และอุมัรเท่านั้น ด้วยเหตุนี้เองจึงตกจากสะพานซิรอต, และท่านอิมามฮุซัยนฺ (อ.) ได้ช่วยเหลือไว้? ในช่วงเวลาการยืนหยัดของท่านอิมามฮุซัยนฺ (อ.) เขาอยู่ที่ไหนจึงไม่ได้ปกป้องท่านอิมาม?
คำตอบโดยสังเขป

รายงานเกี่ยวกับมุคตารที่ปรากฏอยู่ในตำราฮะดีซนั้น แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กล่าวคือรายงานบางกลุ่มกล่าวสรรเสริญเขา และบางกลุ่มก็กล่าวประณามเขา นักวิชาการฝ่ายฮะดีซและริญาลเมื่อกล่าวถึง มุคตาร ส่วนใหญ่จะเลือกฮะดีซที่กล่าวสรรเสริญมากกว่า ส่วนรายงานตรงกันข้ามนั้นจะไม่ค่อยมีใครกล่าวถึงมากเท่าใดนัก

อัลลามะฮฺมัจญฺลิซซียฺ ได้นำเอารายงาน (การช่วยเหลือมุคตาร) มารวมเข้ากับรายงานที่กล่าวประณาม ซึ่งในแง่ของความเชื่อศรัทธาเบื้องต้นเขาเป็นชาวนรก แต่ในบั้นปลายเมื่อได้รับความช่วยเหลือจากท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) เขาจึงรอดพ้นจากการลงโทษของพระเจ้า, ส่วนท่านอายะตุลลอฮฺ คูอียฺ กล่าวว่า สายรายงานของฮะดีซบทนี้อ่อนแอ

มุคตาร ษะกะฟียฺ, ก่อนขบวนการอาชูรอและการยืนหยัดต่อสู้ของท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) ในกัรบะลา, เขาได้ให้การสนับสนุนมุสลิม บิน อะกีล ผู้เป็นทูตของท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) ในกูฟะฮฺ, มุคตารถูกจำคุกอยู่โดยคำสั่งของ อิบนุซิยาด จนกระทั่งการยืนหยัดต่อสู้ในกัรบะลาอฺได้สิ้นสุดลง

คำตอบเชิงรายละเอียด

มุคตาร บิน อบี อุบัยดะฮฺ มาจากเผ่าษะกีฟ, มีฉายนามว่า อบูอิสฮาก, และมีสมญานามว่า กีซาน, คำว่ากีซานหมายถึง ความฉลาด ความหลักแหลม.[1] ตามรายงานที่กล่าวไว้, อัศบัฆ บิน นะบาตะฮฺ, สหายคนหนึ่งของท่านอิมามอะลี (.) กล่าวว่า : [2]ฉายานามว่า กีส ท่านอิมามอะลี (.) ได้ตั้งให้แก่มุคตาร

มุคตารได้เรียนรู้มารยาทและความประเสริฐด้านศีลธรรมจาก สำนักคิดอะฮฺลุลบัยตฺของท่านศาสดา (ซ็อล ) เมื่อย่างเข้าวัยหนุ่ม, เขาได้มีโอกาสร่วมเดินทางไปกับบิดาและอาของเขาไปยังอีรัก เพื่อเข้าร่วมสงครามสู้รบกับกองทัพอิหร่าน มุคตารได้อยู่เคียงข้างท่านอิมามอะลี (.) และหลังจากท่านอิมามได้ชะฮาดัต, เขาได้เดินทางบัศเราะฮฺและอาศัยอยู่ที่นั่น[3]

อัลลามะฮฺ มัจญฺลิซซียฺ (ขออัลลอฮฺทรงเมตตา) บันทึกว่า : มุคตารได้อธิบายความประเสริฐของอะฮฺลุลบัยตฺของท่านศาสดา (ซ็อล ) นอกจากนั้นเขายังสาธยาย และเผยแพร่คุณลักษณะอันงดงามของท่านอมีรุลมุอฺมีน ท่านอิมามฮะซัน และท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) แก่ประชาชน เขามีความเชื่อเสมอว่าครอบครัวของท่านศาสดา (ซ็อล ) มีความเหมาะสมกับตำแหน่งการเป็นผู้นำ และผู้ปกครองภายหลังจากท่านศาสดา ยิ่งกว่าผู้ใดทั้งหมด เขาแสดงความเสียใจและโมโหโกรธาตลอดเวลา เมื่อเห็นความยากลำบากและความทุกข์ยากต่างๆ ได้กร่ำกรายมาสู่ครอบครัวของท่านศาสดา[4]

บุคลิกภาพของมุคตารในริวายะฮฺ

รายงานที่กล่าวถึงมุคตาร ซึ่งมีบันทึกอยู่ในตำราฮะดีซแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กล่าวคือ กลุ่มหนึ่งกล่าวสรรเสริญมุคตาร ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งกล่าวประณาม

) ฮะดีซที่กล่าวสรรเสริญมุคตาร

ตำราฮะดีซได้บันทึกฮะดีซ ที่กล่าวสรรเสริญมุคตารไว้นั้นมีจำนวนมากมาย, แต่เพื่อความเหมาะสมในที่นี้จะขอนำเสนอเป็นตัวอย่างสัก 3 ฮะดีซ ประกอบด้วย

1.ท่านอิมามซอดิก (.) กล่าวว่า : เหล่าสตรีของบนีฮาชิมไม่เคยหวีผม และแต่งหน้าจนกระทั่งมุคตาร ได้ส่งศีรษะเหล่าทรชนที่ร่วมกันสังหารท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) มายังครอบครัวของเรา[5] ซัยยิดคูอียฺ (ขออัลลอฮฺทรงเมตตา) ยอมรับว่าฮะดีซบทนี้ถูกต้องเชื่อถือได้[6] รายงานบทสนับสนุนให้เห็นถึงการกระทำดีของมุคตาร

2.จงอย่ากล่าวสิ่งไม่ดีกับมุคตาร, เนื่องจากเขาได้สังหารหมู่ชนที่สังหารพวกเรา และเขาได้ลงโทษอาชญากรเหล่านั้น,เมื่อยามประสบความทุกข์ยากเขาได้แบ่งทรัพย์สินแก่พวกเรา ช่วยดูแลเหล่าสตรีที่เป็นหม้ายของเรา[7]

3.บางรายงานได้กล่าวว่า ท่านอิมามซัจญาด (.) เมื่อได้เห็นศีรษะของอุบัยดิลลาฮฺ บิน ซิยาด และอุมะริบ สะอัด ถูกส่งมาให้ท่าน, ท่านได้ลงซัจญฺดะฮฺและกล่าวสรรเสริญอัลลอฮฺ พร้อมกับกล่าวว่า : "جَزىَ اللهُ المُختارَ خَیرا ขออัลลอฮฺ โปรดประทานรางวัลความดีงามแก่มุคตาร[8]

) รายงานที่กล่าวประณามมุคตาร

ในที่นี้จะขอกล่าวถึงฮะดีซสัก 3 ฮะดีซเพื่อเป็นตัวอย่าง

1. ท่านอิมามซอดิก (.) กล่าวว่า :มุคตารได้กล่าวมุสาพาดพิงถึงท่านอิมามซัจญาด (.)”[9]

2.มีรายงานกล่าวว่า มุคตารได้ส่งเงินให้ท่านอิมามซัจญาด (.) จำนวน 20,000 ดีนาร, ท่านอิมามได้รับเงินนั้นไว้เพื่อซ่อมแซมรอยผุพังของบ้านท่าน, หลังจากนั้นมุคตารได้ส่งเงินให้ท่านอิมามอีกเป็นจำนวนเงินถึง 40,000 ดีนาร ซึ่งท่านอิมามก็ได้รับเงินนั้นไว้อีก[10] อีกรายงานหนึ่งกล่าวว่า "فَإِنِّی لَا أَقْبَلُ هَدَایا الْکَذَّابِین‏" ดังนั้น ฉันจะไม่ยอมรับของกำนัลที่มุสาหลอกลวง[11]

3.คำใส่ร้ายอีกประการหนึ่งท่มีต่อมุคตาร คือ เขาชื่อการเป็นอิมามะฮฺของมุฮัมม ฮะนะฟียะฮฺ และได้เชิญชวนประชาชนไปสู่เขา ด้วยเหตุนี้เอง สำนักคิด กีซานียะฮฺ จึงได้เกิดขึ้นมา[12]

มุคตารในทัศนะของนักปราชญ์

นักวิชาการและนักปราชญ์สายฮะดีซและอิลมริญาล ส่วนใหญ่จะเลือกฮะดีซที่กล่าวสรรเสริญและชื่นชมมุคตาร ซึ่งจะไม่มีผู้ใดเลือกรายงานที่ตรงกันข้ามมาอรรถาธิบาย

) รายงานที่กล่าวประณามมคตาร, ถ้าหากพิจารณาจากสายรายงานแล้วถือว่า อ่อนแอมาก[13] กะชี กล่าวถึงประเด็นนี้ว่า : ฉันคิดว่าฮะดีซเหล่านี้เป็นฮะดีซอุปโลกน์ทั้งสิ้นที่มาจากฝ่ายซุนนียฺ[14]

) อาจเป็นไปได้ว่าฮะดีซเหล่านี้ อาจเกิดจากการตะกียะฮฺ และเพื่อความปลอดภัยของท่านอิมามและบนีฮาชิม จากน้ำมือของผู้ปกครองที่กดขี่ จึงได้ออกมาจากเขา[15]

) ฮะดีซกล่าวว่ามุคตารได้ส่งของกำนัลให้ท่านอิมามซัจญาด (.) และครอบครัว ถึงสองครั้ง ซึ่งครั้งที่สองท่านอิมามไม่ยอมรับ เนื่องจากเป็นของกำนัลที่ผูกพันอยู่บนความมุสาของมุคตาร สิ่งนี้ห่างไกลจากความจริง, เนื่องจากถ้าหากท่านอิมามไม่ยอมรับของขวัญเพราะการมุสาของมุคตารแล้วละก็ สาเหตุนี้ก็มีอยู่ในการมอบของขวัญครั้งแรกเหมือนกัน[16]

) รายงานต่างๆ ที่พาดพิง สำนักคิดกีซานียะฮฺ ว่ามีความผูกพันกับมุคตาร ประหนึ่งว่าเป็นการพูดโกหกใส่มุคตาร, และตามความเชื่อของนักปราชญ์ฝ่ายอิลมุริญาล กล่าวว่า สิ่งนี้เป็นเรื่องโกหกจากฝ่ายซุนนีย์ที่มีต่อมุคตาร, เนื่องจากมุฮัมมัด บิน ฮะนะฟียะฮฺ ไม่เคยกล่าวอ้างการเป็นอิมามะฮฺเลยแม้แต่ครั้งเดียว เพื่อว่ามุคตารจะได้เชิญชวนไปสู่เขา, ทว่าสำนักคิด กีซานียะฮฺ ได้ถูกจัดตั้งขึ้นภายหลังจากมุฮัมมัด ฮะนะฟียะฮฺ ได้เสียชีวิตไปแล้ว[17]

ความเชื้อของมุคตาร

นักวิชาการบางคน,ไม่เชื่อว่ามุคตารมีความเชื่อหรือความศรัทธาที่ดีและถูกต้อง ซึ่งประเด็นนี้มี 2 รายงานกล่าวพาดพิงไว้ กล่าวคือ :

1. عَنْ أَبِی عَبْدِ اللَّهِ (ع) قَالَ لِی: "یجُوزُ النَّبِی(ص) الصِّرَاطَ یتْلُوهُ عَلِی وَ یتْلُو عَلِیاً الْحَسَنُ وَ یتْلُو الْحَسَنَ الْحُسَینُ فَإِذَا تَوَسَّطُوهُ نَادَى الْمُخْتَارُ الْحُسَینَ(ع) :یا أَبَا عَبْدِ اللَّهِ(ع) إِنِّی طَلَبْتُ بِثَارِکَ فَیقُولُ النَّبِی(ص) لِلْحُسَینِ(ع) :أَجِبْهُ؛ فَینْقَضُّ الْحُسَینُ(ع) فِی النَّارِ کَأَنَّهُ عُقَابٌ کَاسِرٌ فَیخْرِجُ الْمُخْتَارَ حُمَمَةً وَ لَوْ شُقَّ عَنْ قَلْبِهِ لَوُجِدَ حُبُّهُمَا فِی قَلْبِهِ"؛

1.ท่านอิมามซอดิก (.) กล่าวว่า : ท่านศาสดา (ซ็อล ) ได้เดินผ่านสะพานซิรอตไปแล้ว ขณะนั้นมีท่านอิมามอะลี (.) และมีท่านอิมามฮะซัน (.) เดินตามหลัง หลังจากนั้นเป็นท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) เมื่อเดินไปถึงกลางสะพาน มุคตาร (ซึ่งถูกลงโทษในนรก) ได้ส่งเสียงเรียกวา : โอ้ ยาอะบาอับดิลลาฮฺ ฉันคือผู้ทวงหนี้เลือดให้แก่ท่าน, ท่านศาสดา (ซ็อล ) กล่าวว่า : โอ้ ฮุซัยนฺ จงตอบเขาไปซิ, หลังจากนั้นท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) ได้โฉบเฉี่ยวมุคตารให้พ้นจากนรกเหมือนพญาอินทรีย์ แต่กระนั้น ถ้าหากหัวใจของมุคตารแตกสลายออกมา, ความรักที่เขามีต่อเคาะลิฟะฮฺทั้งสองก็จะเปิดเผยออกมาทันที[18]

2.

แปลคำถามภาษาต่างๆ
ความเห็น
จำนวนความเห็น 0
กรุณาป้อนค่า
ตัวอย่าง : Yourname@YourDomane.ext
กรุณาป้อนค่า
<< ลากฉัน
กรุณากรอกจำนวนที่ถูกต้องของ รหัสรักษาความปลอดภัย

คำถามสุ่ม

  • มีฟัตวาเกี่ยวกับอาชีพที่สองไหม? หรือว่าการมีอาชีพที่สองเท่ากับเป็นคนหลงโลก?
    7269 สิทธิและกฎหมาย 2555/01/23
    ในทัศนะอิสลามไม่มีความหมายอันใดเกี่ยวกับอาชีพหรืออาชีพที่สอง, สิ่งที่ศาสนาอิสลามหรืออัลลอฮฺ (ซบ.) ได้ประณามเอาไว้คือ, ความลุ่มหลงและจิตผูกพันอยู่กับโลกทำให้ห่างไกลจากศีลธรรมและปรโลก
  • ผู้ที่มาร่วมพิธีฝังศพท่านนบี(ซ.ล.)มีใครบ้าง?
    10980 تاريخ بزرگان 2555/03/14
    ตำราประวัติศาสตร์และฮะดีษของฝ่ายอะฮ์ลิสซุนนะฮ์เล่าเหตุการณ์ฝังศพท่านนบี(ซ.ล.)ว่า อลี บิน อบีฏอลิบ(อ.) และฟัฎล์ บิน อับบ้าส และอุซามะฮ์ บิน เซด ร่วมกันอาบน้ำมัยยิตแก่ท่านนบี บุคคลกลุ่มแรกที่ร่วมกันนมาซมัยยิตก็คือ อับบาส บิน อับดุลมุฏ็อลลิบและชาวบนีฮาชิม หลังจากนั้นเหล่ามุฮาญิรีน กลุ่มอันศ้อร และประชาชนทั่วไปก็ได้นมาซมัยยิตทีละกลุ่มตามลำดับ สามวันหลังจากนั้น ท่านอิมามอลี ฟัฎล์ และอุซามะฮ์ได้ลงไปในหลุมและช่วยกันฝังร่างของท่านนบี(ซ.ล.) หากเป็นไปตามรายงานดังกล่าวแล้ว อบูบักรและอุมัรมิได้อยู่ในพิธีฝังศพท่านนบี(ซ.ล.) แม้จะได้ร่วมนมาซมัยยิตเสมือนมุสลิมคนอื่นๆก็ตาม ...
  • การลงโทษชาวบนีอิสรออีลข้อหาบูชาลูกวัวเป็นสิ่งที่เหมาะสมแก่ความผิดหรือไม่?
    7660 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/06/23
    นักอรรถาธิบายกุรอานได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของอัลลอฮ์ในการบัญชาให้สังหารกันในโองการนี้ไว้ 3 ประการ “1. สิ่งนี้เป็นบททดสอบ และเมื่อพวกเขาได้เตาบะฮ์และสำนึกผิดแล้ว สิ่งนี้ก็ได้ถูกยกเลิก 2. ความหมายของการฆ่าในที่นี้คือการตัดกิเลศและแรงยั่วยุของชัยตอน 3. ความหมายของการฆ่าในโองการนี้ คือการฆ่าจริง ๆ กล่าวคือจะต้องฆ่ากันเอง ซึ่งอาจจะเกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งหรือทั้งหมดของประเด็นต่อไปนี้ก็เป็นได้: ก. ชำระจิตใจชาวบนีอิสรออีลให้ผ่องแผ้วจากการตั้งภาคี ข. ยับยั้งไม่ให้บาปใหญ่หลวงเช่นนี้อีก ค. ต้องการสื่อให้เห็นถึงปัญหาการหันเหจากหลักเตาฮีด และการหันไปสู่การกราบไหว้เจว็ด อย่างใดก็ตาม การรับการลงโทษที่หนักหน่วงที่สุดก็ถือว่าคุ้มค่าหากแลกกับการหลุดพ้นจากไฟนรก ...
  • มีบทบัญญัติทางฟิกเกาะฮ์ในสวรรค์หรือไม่?
    6687 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/06/12
    ก่อนอื่นต้องคำนึงเสมอว่าเราไม่สามารถล่วงรู้ถึงสภาวะของปรโลกและสวรรค์-นรกได้นอกจากจะศึกษาจากวะฮยู (กุรอาน)และคำบอกเล่าของเหล่าผู้นำศาสนาที่ได้รับการยืนยันความน่าเชื่อถือเสียก่อน.แม้ตำราทางศาสนาจะไม่ได้ระบุคำตอบที่ชัดเจนสำหรับคำถามดังกล่าวแต่จากการพิจารณาถึงข้อคิดที่ระบุไว้ในตำราทางศาสนาก็สามารถกล่าวได้ว่าในสวรรค์ไม่มีบทบัญญัติและกฏเกณฑ์จำเพาะใดๆอีกต่อไปหรือหากมีก็ย่อมแตกต่างจากข้อบังคับต่างๆในโลกนี้ทั้งนี้ก็เพราะการบังคับใช้บทบัญญัติของพระเจ้าในสังคมมนุษย์มีไว้เพื่อสร้างเสริมให้มนุษย์บรรลุถึงความเจริญและความสมบูรณ์สูงสุดซึ่งก็เป็นผลจากการปฏิบัติหน้าที่ทางศาสนาในโลกนี้นั่นเอง
  • ในกุรอานมีกี่ซูเราะฮ์ที่มีชื่อเหมือนบรรดานบี?
    20189 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/03/04
    ในกุรอานมีหกซูเราะฮ์ที่มีชื่อคล้ายบรรดานบี ได้แก่ ซูเราะฮ์นู้ห์, อิบรอฮีม, ยูนุส, ยูซุฟ, ฮู้ด และ มุฮัมมัด อย่างไรก็ดี จากคำบอกเล่าของฮะดีษบางบททำให้นักอรรถาธิบายกุรอานเชื่อว่า ซูเราะฮ์บางซูเราะฮ์อย่างเช่น ฏอฮา[1], ยาซีน[2], มุดดัษษิร[3], มุซซัมมิ้ล[4] หมายถึงท่านนบีมุฮัมมัด(ซ.ล.) จึงอาจจะจัดได้ว่าซูเราะฮ์ต่างๆข้างต้นถือเป็นซูเราะฮ์ที่มีชื่อเหมือนบรรดานบีได้เช่นเดียวกัน คำถามนี้ไม่มีคำตอบเชิงรายละเอียด [1] มะการิม ชีรอซี,นาศิร,ตัฟซี้รเนมูเนะฮ์,เล่ม ...
  • มลาอิกะฮ์สร้างมาจากรัศมีของบรรดาอิมาม และมีหน้าที่ร่ำไห้แด่อิมามฮุเซน(อ.)กระนั้นหรือ?
    8703 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/12/19
    1. ความเชื่อที่ว่ามลาอิกะฮ์สร้างขึ้นจากรัศมีนั้นได้รับการยืนยันจากฮะดีษหลายบทที่รายงานไว้ในตำราฝ่ายชีอะฮ์และซุนหนี่ตำราชีอะฮ์บางเล่มระบุถึงการสร้างสิ่งมีชีวิตต่างๆรวมถึงมลาอิกะฮ์จากรัศมีของปูชนียบุคคลอย่างท่านนบี(ซ.ล.) หรือบรรดาอิมามหรือบุคคลอื่นๆดังที่ตำราของซุนหนี่เองก็เล่าว่าเคาะลีฟะฮ์ท่านแรกและคนอื่นๆถือกำเนิดจากรัศมีของท่านนบี(ซ.ล) การที่มีฮะดีษเหล่านี้ปรากฏอยู่ในตำรับตำราของแต่ละฝ่ายมิได้หมายความว่าทุกคนจะต้องคล้อยตามฮะดีษเหล่านี้เสมอไป อย่างไรก็ดีตำราฮะดีษชีอะฮ์ได้รายงานฮะดีษชุด "ฏีนัต" ไว้ซึ่งไม่อาจจะมองข้ามได้กล่าวโดยสรุปคือหากพบว่ามุสลิมแต่ละฝ่ายอาจมีทัศนะแตกต่างกันบ้างในเรื่องการสรรสร้างของพระองค์
  • มีภัยคุกคามใดที่อาจจะเกิดขึ้นกับสาธารณรับอิสลาม?
    5121 ระบบต่างๆ 2554/11/21
    เพื่อที่จะทราบถึงภัยคุกคามของสิ่งๆหนึ่งก่อนอื่นเราจะต้องทำความรู้จักกับมูลเหตุต่างๆที่ทำให้สิ่งนั้นเกิดขึ้น (ปัจจัยกำเนิด) และสิ่งที่จะทำให้สิ่งนั้นดำรงอยู่ (ปัจจัยพิทักษ์) เสียก่อนเนื่องจากภัยคุกคามที่อาจจะเกิดขึ้นกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งก็คือภัยที่จะคุกคามสองปัจจัยดังกล่าวนี่เองปัจจัยกำเนิดและพิทักษ์ของสาธารณรัฐอิสลามก็คือ 1. หลักคำสอนที่สูงส่งของอิสลาม (การปฏิบัติตามคำสั่งและหลักคำสอนของอิสลาม) 2. การมีผู้นำการปฏิวัติที่รอบรู้ 3. ความเป็นปึกแผ่นของประชาชนและการเชื่อฟังผู้นำหากปัจจัยดังกล่าวถูกคุกคามสาธารณรัฐอิสลามก็จะตกอยู่ในอันตรายฉะนั้นประชาชนเจ้าหน้าที่รัฐ
  • ความหมายของวิลายะฮฺของฮากิมบนสิ่งต้องห้ามคืออะไร?
    8454 สิทธิและกฎหมาย 2555/05/17
    คำนิยามที่ชัดเจนและสั้นของกฎนี้คือ ผู้ปกครองบรรดามุสลิม มีสิทธิบังคับในบางเรื่องซึ่งบุคคลนั้นมีหน้าที่จ่ายสิทธิ์ (ในความหมายทั่วไป) แต่เขาได้ขัดขวาง ดังนั้น ผู้ปกครองมีสิทธิ์บังคับให้เขาจ่ายสิทธิที่เขารับผิดชอบอยู่ ในช่วงระยะเวลาที่ไม่ใกล้ไกลนี้ มรดกทางบทบัญญัติได้ให้บทสรุปแก่มนุษย์ในการยอมรับว่า วิลายะฮฺของฮากิมที่มีต่อสิ่งถูกห้าม ในฐานะที่เป็นแก่นหลักของประเด็น (โดยหลักการเป็นที่ยอมรับ) ณ บรรดานักปราชญ์ทั้งหมด โดยไม่ขัดแย้งกัน, แม้ว่าบางท่านจะกล่าวถึงองค์ประกอบที่แตกต่างกันก็ตาม ...
  • ฮะดีษนี้น่าเชื่อถือหรือไม่? : "เราได้บันดาลให้อลี(อ.)ลูกเขยของเจ้า(นบี)ได้รับการบันทึกไว้ในซูเราะฮ์อินชิร้อห์"
    7042 การตีความ (ตัฟซีร) 2554/11/09
    เราไม่พบฮะดีษใดๆที่มีเนื้อหาเช่นนี้อย่างไรก็ดีในตำราตัฟซี้รเชิงฮะดีษมีฮะดีษหลายบทที่อรรถาธิบายโองการفإذا فرغت فأنصب وإلی ربک فارغب ว่า "เมื่อเจ้า(นบี)ปฏิบัติภารกิจศาสนทูตลุล่วงแล้วก็จงแต่งตั้งอลี(อ.)เป็นผู้นำเหนือปวงชน" หรือฮะดีษที่อธิบายโองการแรกของซูเราะฮ์นี้ที่รายงานจากอิมามศอดิก(
  • ถ้าหากศาสนาถูกส่งมาเพื่อพัฒนาความก้าวหน้าของโลก และปรโลกของมนุษย์ เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุใดโลกบางส่วนที่มิใช่สังคมศาสนาจึงมีความก้าวหน้ามากกว่าสังคมศาสนา?
    5761 จริยธรรมปฏิบัติ 2555/01/23
    ศาสนาอิสลามมาเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ทั้งหลายและเป็นกฎเกณฑ์สำหรับมนุษยชาติ.ดังที่เราจะเห็นว่ามะดีนะตุลนบี (ซ็อลฯ) คือตัวอย่างสังคมแห่งกฎเกณฑ์หมายถึงมนุษย์ทุกคนได้สร้างความสัมพันธ์ต่อกันภายใต้กฎเกณฑ์อันเดียวกันท่านชะฮีดซ็อดร์

เนื้อหาที่มีผู้อ่านมากที่สุด

  • อะไรคือหน้าที่ๆภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีบ้าง?
    59387 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/07
    ความมั่นคงของชีวิตคู่ขึ้นอยู่กับความรักความผูกพัน ความเข้าใจ การให้เกียรติและเคารพสิทธิของกันและกัน และเพื่อที่สถาบันครอบครัวจะยังคงมั่นคงเป็นปึกแผ่น อิสลามจึงได้ระบุถึงสิทธิของทั้งภรรยาและสามี ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดหน้าที่สำหรับทั้งสองฝ่ายไว้ด้วย เนื่องจากเมื่ออัลลอฮ์ประทานสิทธิ ก็มักจะกำหนดหน้าที่กำกับไว้ด้วยเสมอ ข้อเขียนนี้จะนำเสนอหน้าที่ทางศาสนาบางส่วนที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังต่อไปนี้:1. ...
  • ดุอาใดบ้างที่ทำให้ได้รับพรเร็วที่สุด?
    56840 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/07/03
    มีดุอาที่รายงานจากอิมาม(อ.)หลายบทที่กล่าวขานกันว่าเห็นผลตอบรับอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาดุอาทั้งหมด ณ ที่นี้ได้ จึงขอกล่าวเพียงชื่อดุอาที่มีความสำคัญเป็นพิเศษดังต่อไปนี้1. ดุอาตะวัซซุ้ล2. ดุอาฟะร็อจ
  • กรุณานำเสนอบทดุอาเพื่อให้ได้พบคู่ครองที่เหมาะสมและเปี่ยมด้วยตักวา
    41668 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/12
    ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีปัจจัยและเงื่อนไขจำเพาะตามที่พระเจ้าทรงกำหนดหากเราประสงค์สิ่งใดย่อมต้องเริ่มจากการตระเตรียมปัจจัยและเงื่อนไขเสียก่อนปัจจัยของการแต่งงานคือการเสาะหาและศึกษาอย่างละเอียดทว่าเพื่อความสัมฤทธิ์ผลในการดังกล่าวจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์เพื่อทรงชี้นำการตัดสินใจและความพยายามของเราให้บรรลุดังใจหมาย.การอ่านบทดุอาต่างๆที่รายงานจากบรรดาอิมาม(อ)ต้องควบคู่กับความพยายามศึกษาและเสาะหาคู่ครองอย่างถี่ถ้วน. หนึ่งในดุอาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คือรายงานที่ตกทอดมาจากท่านอลี(อ)ดังต่อไปนี้: “ผู้ใดประสงค์จะมีคู่ครอง
  • ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
    38420 วิทยาการกุรอาน 2555/08/22
    หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
  • ครูบาอาจารย์และลูกศิษย์(นักเรียนนักศึกษา)มีหน้าที่ต่อกันอย่างไร?
    38415 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/11/14
    ผู้สอนและผู้เรียนมีหน้าที่ต่อกันหลายประการด้วยกันซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นสองส่วนก. หน้าที่ที่ผู้สอนมีต่อผู้เรียนอันประกอบด้วยหน้าที่ทางจริยธรรมการอบรมและวิชาการ ข. หน้าที่ที่ผู้เรียนมีต่อผู้สอนอาทิเช่นการให้เกียรติครูบาอาจารย์ยกย่องวิทยฐานะของท่านนอบน้อมถ่อมตน ...ฯลฯ ...
  • ก่อนการสร้างนบีอาดัม(อ) เคยมีการแต่งตั้งญินให้เป็นศาสนทูตสำหรับฝ่ายญินหรือไม่?
    33448 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/06/12
    อัลกุรอานยืนยันการมีอยู่ของเหล่าญินรวมทั้งได้อธิบายคุณลักษณะบางประการไว้ถึงแม้ว่าข้อมูลของเราเกี่ยวกับโลกของญินจะค่อนข้างจำกัดแต่เราสามารถพิสูจน์ว่าเหล่าญินเคยมีศาสนทูตที่เป็นญินก่อนการสร้างนบีอาดัมโดยอาศัยเหตุผลต่อไปนี้:1. เหล่าญินล้วนมีหน้าที่ทางศาสนาเฉกเช่นมนุษย์เราแน่นอนว่าหน้าที่ทางศาสนาย่อมเป็นผลต่อเนื่องจากการสั่งสอนศาสนาด้วยเหตุนี้จึงมั่นใจได้ว่าอัลลอฮ์ทรงเคยแต่งตั้งศาสนทูตสำหรับกลุ่มชนญินเพื่อการนี้2. เหล่าญินล้วนต้องเข้าสู่กระบวนการพิพากษาในวันกิยามะฮ์เฉกเช่นมนุษย์เราซึ่งโดยทั่วไปแล้วก่อนกระบวนการพิพากษาทุกกรณีจะต้องมีการชี้แจงข้อกฏหมายจนหมดข้อสงสัยเสียก่อนและการชี้แจงให้หมดข้อสงสัยคือหน้าที่ของบรรดาศาสนทูตนั่นเอง
  • เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
    27537 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/03/08
    ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
  • ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
    27233 การตีความ (ตัฟซีร) 2553/12/22
    เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม (อ.) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้กราบสุญูดอาดัมแต่ซาตานไม่ได้ก้มกราบบางคนกล่าวว่าชัยฎอน (อิบลิส) เป็นมะลาอิกะฮฺ, โดยอ้างเหตุผลว่าเนื่องจากโองการอัลกุรอานกล่าวละเว้น, อิบลิสไว้ในหมู่ของมะลาอิกะฮฺ (มะลาอิกะฮ์ทั้งหมดลดลงกราบยกเว้นอิบลิส) ดังนั้นอิบลิส
  • อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
    27131 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/07
    ในแวดวงวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้นบ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวาอีหม่านและอะมั้ลที่ศอลิห์
  • เมื่ออัลลอฮฺ มิทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายจากสิ่งใดทั้งหมด, หมายความว่าอำนาจของพระองค์ได้ถ่ายโอนไปสู่วัตถุปัจจัยกระนั้นหรือ?
    25204 รหัสยทฤษฎี 2555/05/17
    ใช่แล้ว การสร้างจากสิ่งไม่มีตัวตนมีความหมายตามกล่าวมา, เนื่องจากคำว่า ไม่มีตัวตน คือไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งอัลลอฮฺ ทรงสร้างสิ่งนั้นขึ้นมา รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้เช่นกันว่า อำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า มีความเป็นหนึ่งเดียวกันกับคุณลักษณะอื่นของพระองค์ ซึ่งเกินเลยอำนาจความรอบรู้ของมนุษย์ เนื่องจากสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลายได้ถูกสร้างขึ้นมา จากสิ่งไม่มี ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย เปรียบเสมือนภาพที่ถ่ายโอนอำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า เราเรียกนิยามนี้ว่า “การสะท้อนภาพ”[1]ซึ่งในรายงานฮะดีซได้ใช้คำว่า “การเกิดขึ้นของคุณลักษณะ” : อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงเป็นพระผู้อภิบาลของเราที่มีความเป็นนิรันดร์ ความรอบรู้คือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีความรอบรู้อันใด การได้ยินคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการได้ยินใดๆ การมองเห็นคือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการมองเห็นอันใด อำนาจคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีอำนาจอันใด และเนื่องจากพระองค์คือ ผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้สิ่งเหล่านั้นมีและเป็นไป ความรู้ของพระองค์ได้ปรากฏบนสิ่งถูกรู้จักทั้งหลาย การได้ยิน ได้ปรากฏบนสิ่งที่ได้ยินทั้งหลาย การมองเห็นได้ปรากฏบนสิ่งมองเห็น และอำนาจของพระองค์ ...