การค้นหาขั้นสูง
ผู้เยี่ยมชม
12524
อัปเดตเกี่ยวกับ: 2554/12/21
 
รหัสในเว็บไซต์ fa14350 รหัสสำเนา 19932
คำถามอย่างย่อ
การรักษาอาการพูดมาก มีแนวทางใดบ้าง?
คำถาม
การรักษาอาการพูดมาก มีแนวทางใดบ้าง? เพื่อว่าจะได้สามารถปกปิดความลับของตนเองและผู้อื่นได้
คำตอบโดยสังเขป

ลิ้นนอกจากจะเป็นความโปรดปรานอันยิ่งใหญ่ของอัลลอฮฺแล้ว ยังเป็นสื่อในการพัฒนาการและเป็นเครื่องมือติดต่อกับคนอื่นอีกด้วย, ขณะเดียวกันลิ้นก็ยังมีความเสียหายรวมอยู่ด้วยอย่างมากมาย และยังสามารถเป็นแหล่งเพาะพันธ์ความผิดบาปต่างๆ ได้อีกเป็นจำนวนมหาศาลอีกด้วย, สำหรับการควบคุมลิ้นและการใช้ประโยชน์ในที่จำเป็นและมีความสำคัญนั้น ในตอนเช้าหลังจากตื่นนอนทุกเช้า จงเตือนตัวเองว่า โปรดระวังรักษาลิ้นของตนให้ดี

ท่านอิมามอะลี (.) กล่าวว่า : คำพูดนั้นอยู่ในอำนาจของเธอตราบเท่าที่เธอยังไม่ได้พูดออกมา, แต่เมื่อใดก็ตามเธอได้พูดออกมา เธอก็จะกลายเป็นทาสของคำพูดทันที, บัดนี้จงระวังรักษาคำพูดของเธอให้ดีเหมือนดังทองคำและเงิน, กี่มากน้อยเท่าใดแล้วที่คำพูดได้กลายเป็นสิ่งขจัดความโปรดปรานให้พ้นไปจากมนุษย์, ดังนั้น สิ่งใดที่เธอไม่รู้ไม่เข้าใจก็จงหลีกเลี่ยงที่จะพูดถึงมันเถิด, อัลลอฮฺ ทรงกำหนดบางสิ่งให้เป็นวาญิบสำหรับอวัยวะบนร่างกาย ซึ่งในวันฟื้นคืนชีพพระองค์จะสอบสวนถามไถ่จากมัน, และในวันนั้นบุคคลใดที่มีลิ้นเป็นนาย เขาจะอับอายและอัปยศเป็นที่สุด, บุคคลใดก็ตามที่พูดมากความผิดพลาดของเขาก็ย่อมมีมาก, และบุคคลใดที่มีอุปนิสัยเยี่ยงนี้ ความละอายจะลดน้อยไปจากเขา, บุคคลใดที่ความละอายลดน้อยไปจากเขา, ความสำรวมตนจากบาปหรือสิ่งอันตรายก็จะลดน้อยตามไปด้วย,จิตใจของเขาจะตายด้าน และบุคคลใดที่มีจิตใจตายด้าน เขาก็จะถูกนำไปสู่นรก

คำตอบเชิงรายละเอียด

ลิ้น , คือผู้แปลภาษาใจ , ตัวแทนของความคิด , กุญแจแห่งบุคลิกภาพ   และระดับสำคัญสูงสุดของจิตวิญญาณ , สิ่งที่ปรากฏออกมาจากลิ้นหรือบนคำพูดของมนุษย์ , คือภาพลักษณ์อันแท้จริงที่ปรากฏบนจิตวิญญาณและมีบทบาทสำคัญยิ่ง , ลิ้นนอกจากจะเป็นความโปรดปรานอันยิ่งใหญ่ของอัลลอฮฺแล้ว   ยังเป็นสื่อในการพัฒนาการและเป็นเครื่องมือติดต่อกับคนอื่นอีกด้วย , ขณะเดียวกันลิ้นก็ยังมีความเสียหายรวมอยู่ด้วยอย่างมากมาย   และยังสามารถเป็นแหล่งเพาะพันธ์ความผิดบาปต่างๆ   ได้อีกเป็นจำนวนมหาศาลอีกด้วย , ด้วยเหตุนี้เอง   สำหรับการควบคุมลิ้นและการใช้ประโยชน์ในที่จำเป็นและมีความสำคัญนั้น   ขอนำเสนอ 2 วิธีดังต่อไปนี้   :

) การเยี่ยวยาด้วยการปฏิบัติ   :

เมื่อพิจารณาถึงอันตรายต่างๆ   จากลิ้นและการระมัดระวังลิ้น   จึงได้บทสรุปว่าแนวทางที่ดีที่สุดสำหรับการเยียวยา   การพูดมาก , มนุษย์ต้องใช้ประโยชน์จากลิ้นในการพูดสนทนา   ในสถานที่ต่างๆ   ที่สำคัญและมีประโยชน์   ขณะเดียวกันอันตรายมากมายก็เกิดจากลิ้นเช่นเดียวกัน , ดังนั้น   ทุกๆ   เช้าหลังจากตื่นนอน , จำเป็นต้องแนะนำตักเตือนตนเองเสมอว่า   จงระวังลิ้นของเราให้ดี , เนื่องจากอวัยวะส่วนนี้สามารถทำให้บุคคลนั้นมีความจำเริญ   หรือสูงส่งเทียมฟ้าก็ได้   หรือทำให้เขาไร้ค่าและตกต่ำเพียงดินก็ได้เช่นกัน , ท่านอิมามซัจญาด ( .) กล่าวว่า   : ทุกเช้า , ต้องทำให้ลิ้นสำรวมตนอยู่ภายใต้การควบคุมของอวัยวะทุกส่วนบนร่างกาย , มีคนถามว่า   : จะให้ทำอย่างไรหรือ ? และจะต้องตืนนอนตอนเช้าอย่างไร ? ท่านอิมาม ( .) ตอบว่า   : ตื่นด้วยความดีงามด้วยเงื่อนไขที่ว่า   ] เจ้าจงถอนมือไปจากเราและปล่อยเราให้เป็นตัวของตัวเองเถิด [ , ขอสาบานสิ่งนั้นด้วยพระนามของอัลลอฮฺว่า   ] เราจะไม่พูดจาไร้สาระ   เราจะไม่ทำให้ลิ้นต้องลำบาก [ หลังจากนั้นท่านอิมาม ( .) กล่าวว่า   ] ไม่ต้องสงสัยเลยว่า [ เนื่องจากเจ้านั่นเองที่ทำให้เราได้รับผลบุญ   และเนื่องจากเจ้านั่นเองที่เราได้รับการลงทัณฑ์ [1]

ดังนั้น   มนุษย์มีหน้าที่ระวังรักษาลิ้นและคำพูดของตนไว้ให้ดี , เนื่องจากทุกๆ   คำพูดที่ได้ออกมาจากปากของเขา   มันจะถูกบันทึกไว้ในบัญชีการกระทำ   อัลกุรอาน   กล่าวว่า   : ไม่มีคำพูดคำใดที่เขากล่าวออกมา   เว้นแต่ใกล้     เขานั้นมี ( มะลัก ) ผู้เฝ้าติดตาม   ผู้เตรียมพร้อม ( ที่จะบันทึก )” [2]

รายงานฮะดีซจากท่านอิมามอะลี ( .) :

1. ท่านอิมามอะลี ( .) ได้เดินผ่านไปใกล้ๆ   ชายคนหนึ่ง   เขาเป็นคนพูดมาก , ท่านอิมามได้หยุดใกล้ๆ   เขา   แล้วกล่าวว่า   : โอ้   เจ้าหนุ่มน้อยเอ๋ย   เธอได้ให้มะลักที่ประทับอยู่บนตัวเธอ   คอยบันทึกคำพูดจนบัญชีการงานเต็มไปหมดแล้ว , เธอจงพูดเฉพาะสิ่งที่เป็นประโยชน์กับเธอเถิด   และจงออกห่างจากคำพูดไร้สาระและอันตราย [3]

2. คำพูดนั้นอยู่ในอำนาจของเธอตราบเท่าที่เธอยังไม่ได้พูดออกมา , แต่เมื่อใดก็ตามเธอได้พูดออกมา   เธอก็จะกลายเป็นทาสของคำพูดทันที , บัดนี้จงระวังรักษาคำพูดของเธอให้ดีเหมือนดังทองคำและเงิน , กี่มากน้อยเท่าใดแล้วที่คำพูดได้กลายเป็นสิ่งขจัดความโปรดปรานให้พ้นไปจากมนุษย์ , ดังนั้น   สิ่งใดที่เธอไม่รู้ไม่เข้าใจก็จงหลีกเลี่ยงที่จะพูดถึงมันเถิด , อัลลอฮฺ   ทรงกำหนดบางสิ่งให้เป็นวาญิบสำหรับอวัยวะบนร่างกาย   ซึ่งในวันฟื้นคืนชีพพระองค์จะสอบสวนถามไถ่จากมัน , และในวันนั้นบุคคลใดที่มีลิ้นเป็นนาย   เขาจะอับอายและอัปยศเป็นที่สุด , บุคคลใดก็ตามที่พูดมากความผิดพลาดของเขาก็ย่อมมีมาก , และบุคคลใดที่มีอุปนิสัยเยี่ยงนี้   ความละอายจะลดน้อยไปจากเขา , บุคคลใดที่ความละอายลดน้อยไปจากเขา , ความสำรวมตนจากบาปหรือสิ่งอันตรายก็จะลดน้อยตามไปด้วย , จิตใจของเขาจะตายด้าน   และบุคคลใดที่มีจิตใจตายด้าน   เขาก็จะถูกนำไปสู่นรก [4]

3.  » เมื่อสติปัญญาสมบูรณ์แล้ว , คำพูดก็จะน้อยลง [5] «

ด้วยเหตุนี้เอง , ในมุมมองของโองการอัลกุรอาน   และรายงานฮะดีซ , แนะนำว่าแนวทางที่ดีที่สุดสำหรับการหลีกเลี่ยงการพูดจาไร้สาระอันตรายคือ   หลีกเลี่ยงการพูดมาก , ละเว้นการพูดจาไร้สาระไม่มีประโยชน์ , เนื่องจากถ้าเรารู้ว่าคำพูดก็คือส่วนหนึ่งของการกระทำ   และเราต้องรับผิดชอบ , ดังนั้น   จงหลีกเลี่ยงการพูดมากเสียเถิด   เพราะโดยปกติการพูดมากจะนำไปสู่   การโกหก , นินทาว่าร้าย , เสียเวลา , กลั่นบุคคลอื่น , ทำให้จิตใจแข็งกระด้าง , และอื่นๆ   อีกมากมาย

บางทีอาจกล่าวได้ว่ารากที่มาทางจิตวิทยาของการพูดมาก   อาจเกิดจากการที่ว่าเรามนุษย์นั้นชอบที่จะเรียกร้องความสนใจจากคนอื่น   และสำหรับการเรียกร้องความสนใจอันเพียงพอจากคนอื่น   เราก็จะเริ่มกระทำในสิ่งที่เป็นสาเหตุของการเรียกร้องความสนใจ , แต่ต้องไม่ลืมว่า   ถ้าหากเราสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับพระเจ้า   ความคิดของเขาก็จะเปลี่ยนเป็นว่า   เขาจะทำอย่างไรจึงจะสร้างความพึงพอพระทัยจากพระองค์ , และเขาก็จะทุ่มเทความพยายามให้แก่การนั้นเพื่อว่าจะได้เป็น   ที่รักยิ่งของพระองค์ , โดยไม่ต้องใส่ใจหรือต้องแสดงความโอ้อวด   หรือเรียกร้องความสนใจจากผู้อื่นอีกต่อไป   ดังนั้น   การพูดมากหรือการกระทำทุกสิ่งอันไม่พึงปรารถนาไม่อาจเรียกร้องความสนใจจากผู้อื่นได้เสมอไป [6]

) การเยี่ยวยารักษาด้วยการปฏิบัติ :

สามารถใช้วิธีฝึกฝนหรือการบอกกล่าวด้วยการ   สาบถ   บนบาน   หรือการจ่ายค่าปรับ   ในกรณีที่เราได้พูดมาก , แน่นอน   ถ้าสามารถปฏิบัติได้และเป็นความเคยชินที่จะทำให้เราค่อยๆ   ห่างไกลจากพูดมากไร้สาระ   และในที่สุดเราจะได้พบกับอุปนิสัยใหม่อันแน่นอนและถูกต้องแก่ตัวเอง

ประเด็นที่น่าสนใจก็คือ , การห้ามปรามลิ้นมิให้พูดมาก , เป็นงานที่ต้องค่อยๆ   ทำค่อยๆ   ไป   และต้องใช้เวลาอันยาวนานพอสมควรจึงจะเป็นความเคยชิน   บุคคลที่พูดมากและไม่อาจควบคุมลิ้นของตนเองได้   ให้ความเคยชินแก่ลิ้นของตนจนเป็นความเคยชินไปเสียแล้ว , ระยะเวลาเพียงวันเดียวเขาไม่อาจปฏิบัติสิ่งที่ขัดแย้งกับความเคยชินของตนได้สำเร็จอย่างแน่นอน , ทว่าเขาต้องสัญญาและต้องให้เวลากับตัวเอง   และในแต่ละวันนั้นเขาต้องค่อยๆ   ลดคำพูดของตัวเองให้ลดน้อย   จนกระทั่งว่าเป็นความเคยชินและสามารถควบคุมลิ้นของตัวเองได้   สามารถตามความจำเป็นและที่มีความสำคัญ   และใช้ประโยชน์จากลิ้นได้อย่างถูกต้อง

สำหรับการศึกษาเพิ่มเติม   โปรดค้นคว้าได้จาก   :

« แนวทางสำหรับการละทิ้งมารยาททราม », คำถามที่ 2604 ( ไซต์ : 2741)

« การเปรียบเทียบระหว่างการพูดกับการนิ่งเงียบ », คำถามที่ 9135 ( ไซต์ : 9608)

« แนวทางการละทิ้งบาปอันเกิดจากลิ้น », คำถามที่ 13686 ( ไซต์ : 13582)



[1] มัจญฺลิซซียฺ , มุฮัมมัดบากิร , บิฮารุลอันวาร   เล่ม 68, หน้า 302, สถาบันอัลวะฟาอฺ , เบรูต   ปี   . . 1404.

[2] อัลกุรอาน   บทก๊อฟ , 18, «ما یَلْفِظُ مِنْ قَوْلٍ إِلاَّ لَدَیْهِ رَقیبٌ عَتیدٌ»

[3] เชคซะดูก , มันลายะฮฺเฎาะเราะฮุลฟะกีฮฺ , เล่ม 4 หน้า 396, พิมพ์ที่ญามิอะฮฺ   มุดัรริซีน , กุม , พิมพ์ครั้งที่ 2, ปี   . .1404

[4] บิฮารุลอันวาร , เล่ม 68, หน้า 286.

[5] บิฮารุลอันวาร , เล่ม 1, หน้า 159.

[6] เพื่อศึกษาเพิ่มเติม   โปรดดูที่หัวข้อต่างๆ   เช่น   « แนวทางค้นหาความรักจากคนอื่น », คำถามที่ 10915 ( ไซต์ : 11664) และหัวข้อ   «แนวทางเป็นที่รักของอัลลอฮฺ», คำถามที่ 12547, ( ไซต์ : 12587)

แปลคำถามภาษาต่างๆ
ความเห็น
จำนวนความเห็น 0
กรุณาป้อนค่า
ตัวอย่าง : Yourname@YourDomane.ext
กรุณาป้อนค่า
<< ลากฉัน
กรุณากรอกจำนวนที่ถูกต้องของ รหัสรักษาความปลอดภัย

คำถามสุ่ม

  • โองการ اخْلُفْنِی فِی قَوْمِی وَأَصْلِحْ وَلَا تَتَّبِعْ سَبِیلَ الْمُفْسِدِینَ กล่าวโดยผู้ใด และปรารภกับผู้ใด?
    6229 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/19
    โองการที่ถามมานั้น กล่าวถึงคำสั่งของท่านนบีมูซา(อ.)ที่มีแด่ท่านนบีฮารูน(อ.)ขณะกำลังจะเดินทางจากชนเผ่าของท่านไป ทั้งนี้เนื่องจากการแต่งตั้งตัวแทนจะกระทำในยามที่บุคคลกำลังจะลาจากกัน เมื่อท่านนบีมูซาได้รับบัญชาให้จาริกสู่สถานที่นัดหมายจึงแต่งตั้งท่านนบีฮารูน (ซึ่งดำรงตำแหน่งนบีอยู่แล้ว) ให้เป็นตัวแทนของท่านในหมู่ประชาชน และได้กำชับให้ฟื้นฟูดูแลประชาชน และให้หลีกห่างกลุ่มผู้นิยมความเสื่อมเสีย[1]อนึ่ง ท่านนบีฮารูน(อ.)เองก็มีฐานะเป็นนบีและปราศจากความผิดบาป อีกทั้งไม่คล้อยตามผู้นิยมความเสื่อมเสียอยู่แล้ว ท่านนบีมูซาเองก็ย่อมทราบถึงฐานันดรภาพของพี่น้องตนเองเป็นอย่างดี ฉะนั้น คำสั่งนี้จึงมิได้เป็นการห้ามมิให้นบีฮารูนทำบาป แต่ต้องการจะกำชับมิให้รับฟังทัศนะของกลุ่มผู้นิยมความเสื่อมเสีย และอย่าคล้อยตามพวกเขาจนกว่าท่านนบีมูซาจะกลับมา
  • จัดเลี้ยงวันเกิดเป็นฮะรอมหรือไม่?
    22992 สิทธิและกฎหมาย 2555/04/07
    การฉลองวันเกิดมิได้เป็นประเพณี (ซุนนะฮฺ) อิสลาม และคำสอนของศาสนาอิสลามก็ไม่ได้แนะนำไว้ว่า มนุษย์ต้องจัดฉลองวันเกิดของเขา แต่เราไม่ต้องการที่จะประณามการกระทำนี้ว่าเป็นประเพณีใหม่ แต่ก็ไม่อาจยอมรับการนำเข้าประเพณีอื่น ๆ อย่างสุ่มสี่สุ่มห้าได้ เนื่องจากเราเชื่อว่า ประเพณีต่างๆ จะต้องมีที่มาอันเป็นรากลึกในการรับรู้ของประชาชน แต่หลังจากการพิจารณาแล้วประเพณีเหล่านี้สามารถนำไปสู่ความสมบูรณ์และการพัฒนาได้ ซึ่งสามารถให้นิยามสำหรับประเพณีใหม่นี้ ซึ่งเป็นวันเกิดของคนๆ หนึ่งให้มีความเหมาะสมกับเขา โดยตั้งชื่อว่า เป็นวันขอบคุณและสรรเสริญพระเจ้า ซึ่งพระองค์ทรงดูและขาให้มีชีวิตอยู่นับตั้งแต่วันเกิด จนถึงบัดนั้น เช่นเดียวกันถือว่าเป็นโอกาสหนึ่งสำหรับการคิดใคร่ครวญในอายุขัยของเขาว่า เขาได้ใช้ไปในหนทางใด และส่วนอายุขัยที่เหลือเขาจะใช้มันไปอย่างไร หรือมีการปรับปรุงแก้ไขวิธีการ ขั้นตอน และแนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างไร และจงรำลึกถึงอัลลอฮฺเสมอ วิงวอนต่อพระองค์ว่า โอ้ อัลลอฮฺ โปรดทำให้ก้าวเดินต่อไปของเรามีแต่ความดีงาม ดีกว่าอดีตที่ผ่านมา โปรดทำให้วันสุดท้ายของเราเป็นวันที่ดีที่สุด และโปรดทำให้วันต่างๆ ของเราเป็นวันพบกับพระองค์ ด้วยเหตุนี้, การจัดงานวันเกิดสำหรับตนเองหรือบุตรหลาน, ถ้างานนั้นเต็มไปด้วยความฟุ่มเฟือยสุรุ่ยสุหร่าย หรือไม่ขัดต่อชัรอียฺ, เช่น ไม่มีการขับกล่อมบรรเลงเพลงที่ฮะรอม เต้นรำ และ ...ร่วมอยู่ในงาน ถือว่าไม่เป็นไร ...
  • คำอธิบายอัลกุรอาน บทอัฏฏีน จากตัฟซีรฟะรอต มีฮะดีซบทหนึ่งกล่าวว่า วัตถุประสงค์ของคำว่า ฏีน หมายถึงอิมามฮะซัน (อ.) และวัตถุประสงค์ของ ซัยตูน คืออิมามฮุซัยนฺ (ฮ.) ถามว่าฮะดีซเหล่านี้ และฮะดีซที่คล้ายคลึงกันเชื่อถือได้หรือไม่?
    10347 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/05/20
    อัลกุรอาน นอกจากจะมีความหมายภายนอกแล้ว,เป็นไปที่ว่าอาจมีความหมายภายในซ่อนเร้นอยู่อีก เช่น ความหมายภายนอกของคำว่า ฏีนและซัยตูน ซึ่งอัลลอฮฺ กล่าวไว้ในโองการที่ 1 และ 2 ของบท ฏีนว่า ขอสาบานด้วยพวกเขาว่า, สามารถกล่าวได้ว่าอาจหมายถึงผลมะกอก และมะเดื่อตามที่ประชาชนทั้งหลายเข้าใจ กล่าวคือ ผลมะกอกและมะเดื่อ ที่มาจากต้นมะกอกและต้นมะเดื่อ, แต่ขณะเดียวกันก็สามารถกล่าวถึงความหมายด้านในของโองการได้ ซึ่งสองสิ่งที่ฮะดีซพาดพิงถึงคือ ท่านอิมามฮะซันและอิมามฮุซัยนฺ (อ.) เป็นผลไม้จากต้นวิลายะฮฺ[1] ทำนองเดียวกัน สามารถกล่าวได้ว่า โองการยังมีวัตถุประสงค์อื่นอีก, ดังที่รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงสิ่งนี้เอาไว้, ซึ่งวัตถุประสงค์จาก ฏีน หมายถึง เมืองแห่งเราะซูล ส่วนวัตถุประสงค์ของ ซัยตูน หมายถึง บัยตุลมุก็อดดิส กิบละฮฺแห่งแรกของมวลมุสลิม[2] ตัฟซีรกุมมีกล่าวว่า ...
  • ฮะดีษนี้เศาะฮี้ห์หรือไม่: การภักดีต่ออลี(อ.)คือสัมมาคารวะที่แท้จริง และการไม่ภักดีต่อท่าน คือการปฏิเสธพระเจ้า
    6763 ดิรอยะตุลฮะดีซ 2554/11/09
    ฮะดีษนี้มีเนื้อหาที่ถูกต้องเนื่องจากมีรายงานอย่างเป็นเอกฉันท์กล่าวคือมีฮะดีษมากมายที่ถ่ายทอดถึงเนื้อหาดังกล่าวอย่างไรก็ดีการปฏิเสธในที่นี้ไม่ไช่การปฏิเสธอิสลามแต่เป็นการปฏิเสธอีหม่านที่แท้จริงแน่นอนว่าการปฏิเสธอีหม่านที่แท้จริงย่อมมิได้ทำให้บุคคลผู้นั้นอยู่ในฮุก่มของกาเฟรทั่วไปในแง่ความเป็นนะญิส ...ฯลฯต้องเข้าใจว่าที่เชื่อว่าการไม่จงรักภักดีต่อท่านอิมามอลี(อ.)เท่ากับปฏิเสธอีหม่านที่แท้จริงนั้นเป็นเพราะการจงรักภักดีต่อท่านคือแนวทางสัจธรรมที่พระองค์ทรงกำหนดฉะนั้นผู้ที่ฝ่าฝืนคำสั่งของท่านก็เท่ากับฝ่าฝืนคำสั่งของพระองค์
  • หลังจากเสียชีวิต วิญญาณมนุษย์สามารถรับรู้เรื่องราวในโลกดุนยาหรือไม่?
    14598 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/08/09
    นัยยะที่ได้จากกุรอานและฮะดีษจากบรรดามะอ์ศูมีนบ่งชี้ว่าภายหลังจากเสียชีวิตวิญญาณผู้ตายสามารถแวะเวียนมายังโลกนี้เพื่อจะรับทราบสารทุข์สุขดิบของญาติมิตรได้และหลักฐานทางศาสนาก็มิได้ปฏิเสธบทบาทของมะลาอิกะฮ์เกี่ยวกับเรื่องนี้แถมยังระบุไว้ชัดเจนอีกด้วยดังฮะดีษต่อไปนี้“แน่นอนว่าวิญญาณผู้ศรัทธาจะกลับมาเยี่ยมครอบครัวเขาจะได้เห็นสิ่งที่ดีงามแต่จะไม่ได้เห็นเรื่องที่ไม่พึงประสงค์”“อัลลอฮ์จะส่งมะลาอิกะฮ์มาพร้อมกับวิญญาณผู้ศรัแธาเพื่อชี้ให้เขาเห็นเฉพาะสิ่งที่น่ายินดี” ...
  • มนุษย์สามารถเข้าถึงเรื่องจิตวิญญาณโดยปราศจากศาสนาได้หรือไม่?
    10384 จริยธรรมทฤษฎี 2555/09/08
    รูปภาพของจิตวิญญาณสมัยที่โจทย์ขานกันอยู่ในปัจจุบัน มีความแตกต่างกันโดยสิ้นเชิงกับภาพทางจิตวิญญาณ ในความคิดของเราในฐานะมุสลิมหนึ่ง เนื่องจากความก้าวหน้าทางจิตวิญญาณของมุสลิมนั้น มีความสัมพันธ์อย่างลึกซึ้งกับคำสอนศาสนา จิตวิญญาณทางศาสนา, วางอยู่บนพื้นฐานของการปฏิบัติตามตำแนะนำสั่งสอนของศาสนา จึงจะก่อให้เกิดสถานดังกล่าว คำแนะนำและความรู้เกี่ยวกับความจริงที่พ้นญาณวิสัย เหนือโลกวัตถุและความจริงที่วางอยู่บนพื้นฐานดังกล่าว จะพบว่ามนุษย์ในระบบของการสร้างสรรค์ มีสถานภาพพิเศษ กำลังดำเนินชีวิตไปในหนทางพิเศษ อันเป็นหนทางที่ต้องอาศัยพฤติกรรมอันเฉพาะบางอย่าง อีกนัยหนึ่ง จิตวิญญาณทางศาสนา เป็นความรู้สึกหนึ่งที่มนุษย์มีต่อข้อเท็จจริง ซึ่งจะพบว่าความรู้สึกนั้นตั้งอยู่เหนือโลกของวัตถุ ขณะเดียวกันก็วางอยู่บนข้อตกลงและเงื่อนไขอันเฉพาะ ถ้าหากพิจารณาสติปัญญาที่มีขอบเขตของจำกัด ในการรู้จักมิติต่างๆ ของการมีอยู่ของมนุษย์ การรับรู้ถึงความต้องการที่แท้จริงของเขา และในที่สุดการเลือกวิธีการต่างๆ ว่าจะดำเนินไปอย่างไร เพื่อไปให้ถึงสิ่งที่ธรรมชาติของมนุษย์ถวิลหา ดังนั้น ตรงนี้จึงไม่อาจพึงความรู้ในเชิงของเหตุผล หรือสติปัญญาได้เพียงอย่างเดียว ทว่าต้องพึ่งคำแนะนำและผู้ชี้นำทาง ซึ่งการทำความเข้าใจ และการครอบคลุมของสิ่งนั้นต้องเหนือกว่า สติปัญญา และสิ่งนั้นก็คือ วะฮฺยู ของพระเจ้า ซึ่งได้มาถึงสังคมมนุษย์โดยผ่านขบวนการของบรรดาเราะซูล ซึ่งได้แนะนำมนุษย์ให้เดินไปสู่สัจธรรมความจริงสูงสุด อัลลอฮฺ (ซบ.) ได้ประทานเราะซูลลงมาคนแล้วคนเล่า ทรงทำให้ศาสนาของพระองค์สมบูรณ์ มนุษย์มีหน้าที่ตรวจสอบโดยละเอียด ...
  • กรุณาอธิบายสาเหตุและเงื่อนไขของวะลียุลฟะกีฮ์ ตลอดจนเหตุผลที่เลือกพณฯอายะตุลลอฮ์ อุซมา คอเมเนอี ขึ้นดำรงตำแหน่งวะลียุลฟะกีฮ์.
    6367 สิทธิและกฎหมาย 2554/06/12
    ในทัศนะของชีอะฮ์, วิลายะฮ์ของฟะกีฮ์(ผู้เชี่ยวชาญศาสนา)ในยุคที่อิมามเร้นกายนั้นเป็นผลต่อเนื่องมาจากวิลายะฮ์ของบรรดาอิมามมะอ์ศูม(อ) กล่าวคือในยุคที่อิมามมะอ์ศูม(อ)ยังไม่ปรากฏกายหน้าที่การปกครองดูแลประชาคมมุสลิมจะได้รับการสืบทอดสู่บรรดาฟะกีฮ์ซึ่งฟุก่อฮา(พหูพจน์ฟะกีฮ์
  • กรุณาอธิบายวิธีตะยัมมุมแทนที่วุฎูอฺและฆุซลฺ ว่าต้องทำอย่างไร?
    10036 สิทธิและกฎหมาย 2555/05/17
    จะทำตะยัมมุมอย่างไร การตะยัมมุมนั้นมี 4 ประการเป็นวาญิบ: 1.ตั้งเจตนา, 2. ตบฝ่ามือทั้งสองข้างลงบนสิ่งที่ทำตะยัมมุมกับสิ่งนั้นแล้วถูกต้อง, 3. เอาฝ่ามือทั้งสองข้างลูบลงบนหน้าผากตั้งแต่ไรผม เรื่อยลงมาจนถึงคิ้ว และปลายมูก อิฮฺติยาฏวาญิบ, ให้เอาฝ่ามือลูบลงบนคิ้วด้วย, 4. เอาฝ่ามือข้างซ้ายลูบหลังมือข้างขวา, หลังจากนั้นให้เอาฝ่ามือข้างขวาลูบลงหลังมือข้างซ้าย คำวินิจฉัยของมัรญิอฺบางท่าน กล่าวถึงการตะยัมมุมแทนวุฎูอฺ และฆุซลฺ ไว้ดังนี้: หนึ่ง. การตะยัมมุมแทนทีฆุซลฺ, อิฮฺยาฏมุสตะฮับ หลังจากทำเสร็จแล้วให้เอาฝ่ามือทั้งสองข้างตบลงบนฝุ่นอีกครั้ง (ตบครั้งที่สอง) หลังจากนั้นให้เอาฝ่ามือลูบลงที่หลังมือข้างขวาและข้างซ้าย[1] มัรญิอฺ บางท่านแสดงความเห็นว่า สิ่งที่เป็นมุสตะฮับเหล่านี้ สมควรทำในตะยัมมุม ที่แทนที่ วุฎูดฺด้วย
  • ถ้าหากพิจารณาบทดุอาอฺต่างๆ ในอัลกุรอาน จะเห็นว่าดุอาอฺเหล่านั้นได้ให้ความสำคัญต่อตัวเองก่อน หลังจากนั้นเป็นคนอื่น เช่นโองการอัลกุรอาน ที่กล่าวว่า “อะลัยกุม อันฟุซะกุม” แต่เมื่อพิจารณาดุอาอฺของท่านหญิงฟาฏิมะฮฺจะพบว่าท่านหญิงดุอาอฺให้กับคนอื่นก่อนเป็นอันดับแรก, ดังนั้น ประเด็นนี้จะมีทางออกอย่างไร?
    8850 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/12/21
    ในตำแหน่งของการขัดเกลาจิตวิญญาณและยกระดับจิตใจตนเองนั้น, มนุษย์ต้องคำนึงถึงตัวเองก่อนบุคคลอื่นเพราะสิ่งนี้เป็นคำสั่งของอัลกุรอานและรายงานนั่นเอง, เนื่องจากถ้าปราศจากการขัดเกลาจิตวิญญาณแล้วการชี้แนะแนวทางแก่บุคคลอื่นจะบังเกิดผลน้อยมาก, แต่ส่วนในตำแหน่งของดุอาอฺหรือการวิงวอนขอสิ่งที่ต้องการจากพระเจ้า,ถือว่าเป็นความเหมาะสมอย่างยิ่งที่มนุษย์จะวอนขอให้แก่เพื่อนบ้านหรือบุคคลอื่นก่อนตัวเอง, ...
  • เพราะเหตุใดอัลกุรอานบางโองการ มีความหมายขัดแย้งกับความบริสุทธิ์ของศาสดา
    7750 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/04/21
    คำตอบสำหรับคำถามข้างต้นสามารถกล่าวได้ว่า1) คำว่าอิซมัตเป็นสภาพหนึ่งทางจิตวิญญาณที่เกิดขึ้นกับบุคคลที่มีความบริสุทธิ์อันเป็นสาเหตุทำให้บุคคลนั้นหันหลังให้กับบาปกรรมพฤติกรรมชั่วร้ายและความผิดต่างๆโดยสิ้นเชิงอีกทั้งสภาพดังกล่าวยังปกป้องบุคคลนั้นให้รอดพ้นจากความผิดพลาดและการหลงลืมโดยปราศจากการปฏิเสธเจตนารมณ์เสรีหรือมีการบีบบังคับให้บุคคลนั้นเป็นผู้บริสุทธิ์2. ...

เนื้อหาที่มีผู้อ่านมากที่สุด

  • อะไรคือหน้าที่ๆภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีบ้าง?
    59402 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/07
    ความมั่นคงของชีวิตคู่ขึ้นอยู่กับความรักความผูกพัน ความเข้าใจ การให้เกียรติและเคารพสิทธิของกันและกัน และเพื่อที่สถาบันครอบครัวจะยังคงมั่นคงเป็นปึกแผ่น อิสลามจึงได้ระบุถึงสิทธิของทั้งภรรยาและสามี ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดหน้าที่สำหรับทั้งสองฝ่ายไว้ด้วย เนื่องจากเมื่ออัลลอฮ์ประทานสิทธิ ก็มักจะกำหนดหน้าที่กำกับไว้ด้วยเสมอ ข้อเขียนนี้จะนำเสนอหน้าที่ทางศาสนาบางส่วนที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังต่อไปนี้:1. ...
  • ดุอาใดบ้างที่ทำให้ได้รับพรเร็วที่สุด?
    56852 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/07/03
    มีดุอาที่รายงานจากอิมาม(อ.)หลายบทที่กล่าวขานกันว่าเห็นผลตอบรับอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาดุอาทั้งหมด ณ ที่นี้ได้ จึงขอกล่าวเพียงชื่อดุอาที่มีความสำคัญเป็นพิเศษดังต่อไปนี้1. ดุอาตะวัซซุ้ล2. ดุอาฟะร็อจ
  • กรุณานำเสนอบทดุอาเพื่อให้ได้พบคู่ครองที่เหมาะสมและเปี่ยมด้วยตักวา
    41680 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/12
    ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีปัจจัยและเงื่อนไขจำเพาะตามที่พระเจ้าทรงกำหนดหากเราประสงค์สิ่งใดย่อมต้องเริ่มจากการตระเตรียมปัจจัยและเงื่อนไขเสียก่อนปัจจัยของการแต่งงานคือการเสาะหาและศึกษาอย่างละเอียดทว่าเพื่อความสัมฤทธิ์ผลในการดังกล่าวจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์เพื่อทรงชี้นำการตัดสินใจและความพยายามของเราให้บรรลุดังใจหมาย.การอ่านบทดุอาต่างๆที่รายงานจากบรรดาอิมาม(อ)ต้องควบคู่กับความพยายามศึกษาและเสาะหาคู่ครองอย่างถี่ถ้วน. หนึ่งในดุอาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คือรายงานที่ตกทอดมาจากท่านอลี(อ)ดังต่อไปนี้: “ผู้ใดประสงค์จะมีคู่ครอง
  • ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
    38435 วิทยาการกุรอาน 2555/08/22
    หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
  • ครูบาอาจารย์และลูกศิษย์(นักเรียนนักศึกษา)มีหน้าที่ต่อกันอย่างไร?
    38434 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/11/14
    ผู้สอนและผู้เรียนมีหน้าที่ต่อกันหลายประการด้วยกันซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นสองส่วนก. หน้าที่ที่ผู้สอนมีต่อผู้เรียนอันประกอบด้วยหน้าที่ทางจริยธรรมการอบรมและวิชาการ ข. หน้าที่ที่ผู้เรียนมีต่อผู้สอนอาทิเช่นการให้เกียรติครูบาอาจารย์ยกย่องวิทยฐานะของท่านนอบน้อมถ่อมตน ...ฯลฯ ...
  • ก่อนการสร้างนบีอาดัม(อ) เคยมีการแต่งตั้งญินให้เป็นศาสนทูตสำหรับฝ่ายญินหรือไม่?
    33461 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/06/12
    อัลกุรอานยืนยันการมีอยู่ของเหล่าญินรวมทั้งได้อธิบายคุณลักษณะบางประการไว้ถึงแม้ว่าข้อมูลของเราเกี่ยวกับโลกของญินจะค่อนข้างจำกัดแต่เราสามารถพิสูจน์ว่าเหล่าญินเคยมีศาสนทูตที่เป็นญินก่อนการสร้างนบีอาดัมโดยอาศัยเหตุผลต่อไปนี้:1. เหล่าญินล้วนมีหน้าที่ทางศาสนาเฉกเช่นมนุษย์เราแน่นอนว่าหน้าที่ทางศาสนาย่อมเป็นผลต่อเนื่องจากการสั่งสอนศาสนาด้วยเหตุนี้จึงมั่นใจได้ว่าอัลลอฮ์ทรงเคยแต่งตั้งศาสนทูตสำหรับกลุ่มชนญินเพื่อการนี้2. เหล่าญินล้วนต้องเข้าสู่กระบวนการพิพากษาในวันกิยามะฮ์เฉกเช่นมนุษย์เราซึ่งโดยทั่วไปแล้วก่อนกระบวนการพิพากษาทุกกรณีจะต้องมีการชี้แจงข้อกฏหมายจนหมดข้อสงสัยเสียก่อนและการชี้แจงให้หมดข้อสงสัยคือหน้าที่ของบรรดาศาสนทูตนั่นเอง
  • เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
    27546 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/03/08
    ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
  • ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
    27247 การตีความ (ตัฟซีร) 2553/12/22
    เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม (อ.) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้กราบสุญูดอาดัมแต่ซาตานไม่ได้ก้มกราบบางคนกล่าวว่าชัยฎอน (อิบลิส) เป็นมะลาอิกะฮฺ, โดยอ้างเหตุผลว่าเนื่องจากโองการอัลกุรอานกล่าวละเว้น, อิบลิสไว้ในหมู่ของมะลาอิกะฮฺ (มะลาอิกะฮ์ทั้งหมดลดลงกราบยกเว้นอิบลิส) ดังนั้นอิบลิส
  • อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
    27150 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/07
    ในแวดวงวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้นบ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวาอีหม่านและอะมั้ลที่ศอลิห์
  • เมื่ออัลลอฮฺ มิทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายจากสิ่งใดทั้งหมด, หมายความว่าอำนาจของพระองค์ได้ถ่ายโอนไปสู่วัตถุปัจจัยกระนั้นหรือ?
    25224 รหัสยทฤษฎี 2555/05/17
    ใช่แล้ว การสร้างจากสิ่งไม่มีตัวตนมีความหมายตามกล่าวมา, เนื่องจากคำว่า ไม่มีตัวตน คือไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งอัลลอฮฺ ทรงสร้างสิ่งนั้นขึ้นมา รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้เช่นกันว่า อำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า มีความเป็นหนึ่งเดียวกันกับคุณลักษณะอื่นของพระองค์ ซึ่งเกินเลยอำนาจความรอบรู้ของมนุษย์ เนื่องจากสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลายได้ถูกสร้างขึ้นมา จากสิ่งไม่มี ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย เปรียบเสมือนภาพที่ถ่ายโอนอำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า เราเรียกนิยามนี้ว่า “การสะท้อนภาพ”[1]ซึ่งในรายงานฮะดีซได้ใช้คำว่า “การเกิดขึ้นของคุณลักษณะ” : อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงเป็นพระผู้อภิบาลของเราที่มีความเป็นนิรันดร์ ความรอบรู้คือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีความรอบรู้อันใด การได้ยินคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการได้ยินใดๆ การมองเห็นคือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการมองเห็นอันใด อำนาจคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีอำนาจอันใด และเนื่องจากพระองค์คือ ผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้สิ่งเหล่านั้นมีและเป็นไป ความรู้ของพระองค์ได้ปรากฏบนสิ่งถูกรู้จักทั้งหลาย การได้ยิน ได้ปรากฏบนสิ่งที่ได้ยินทั้งหลาย การมองเห็นได้ปรากฏบนสิ่งมองเห็น และอำนาจของพระองค์ ...