การค้นหาขั้นสูง
ผู้เยี่ยมชม
5690
อัปเดตเกี่ยวกับ: 2550/09/30
 
รหัสในเว็บไซต์ fa1545 รหัสสำเนา 26983
คำถามอย่างย่อ
เพราะเหตุใดท่านศาสดา (ซ็อลฯ) จึงไม่ลงโทษบรรดาพวกกลับกลอกเสียตั้งแต่แรก ทั้งที่ทราบถึงแผนการ การก่อกรรมชั่วของพวกเขาเป็นอย่างดี? ขณะที่ท่านคิเฎรสังหารเด็กผู้ชายคนหนึ่ง ด้วยเหตุผลที่ว่าเมื่อโตขึ้นเขาจะก่อความเสียหาย?
คำถาม
สาเหตุที่ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) นิ่งเงียบเมื่อเผชิญหน้ากับกลุ่มผู้กลับกลอก และบุคคลที่เป็นปรปักษ์คืออะไร? ทำไมท่านไม่ทำลายพวกเขาตั้งแต่แรก เพื่อว่าจะได้ไม่เกิดเหตุการณ์เลวร้ายภายหลังท่านจากไป ถ้าคิดว่าหากมีการลงโทษก่อนที่จะทำความผิด สิ่งนี้จะกลายเป็นข้ออ้างสำหรับชนบางกลุ่ม, แล้วทำไม่ท่านคิเฎรได้สังหารเด็กชายคนนั้น เพียงเพราะทราบว่าเมื่อโตขึ้นเขาจะก่อความเสียหาย? ทัศนะของท่านเกี่ยวกับคำพูดที่ว่า อัลลอฮฺต้องการทดสอบมนุษย์ด้วยภารกิจดังกล่าว เป็นอย่างไร ท่านคิดว่าถูกต้องหรือไม่ ซึ่งปัจจุบันเราต่างเห็นอาชญากรรมและความป่าเถื่อนของพวกวะฮาบีอยู่ทั่วไป ...ซึ่งไม่เพียงแต่ประชาชนชาวซาอุดิอาระเบียเท่านั้น ที่ถูกพวกเขาสังหารอย่างเหี้ยมโหด ทว่าประชาชนในประเทศอื่นก็ถูกเขาสังหารด้วยเช่นกัน
คำตอบโดยสังเขป

ถ้าหากท่านเราะซูล (ซ็อลฯ) สังหารพวกเขาตั้งแต่วันนั้นให้หมดไป ก่อนที่แผนการของพวกเขาจะถูกปฏิบัต และวันนี้ก็จะไม่มีคำพูดว่า แล้วทำไมท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ก่อนที่จะดำเนินการไม่ประณาม หรือไม่ตักเตือนพวกเขาเสียก่อน ทำไมไม่ให้โอกาสพวกเขา บางทีพวกเขาอาจเปลี่ยนแปลงก็ได้ นอกจากนั้นแล้วท่านศาสดา (ซ็อลฯ) มีหน้าที่ปฏิบัติไปตามกฎภายนอก และท่านมิได้รับอนุญาตจากอัลลอฮฺให้ทำการเข้มงวดกับบุคคลที่เป็นผู้กลับกลอก หรือปฏิบัติกับพวกเขาโดยความเข้มงวดอย่างเปิดเผย ดั่งที่บางตอนของคำเทศนาเฆาะดีรได้กล่าวว่า  »ขอสาบานต่ออัลลอฮฺว่า วัตถุประสงค์ของอัลลอฮฺ จากโองการดังกล่าวคือ เซาะฮาบะฮฺกลุ่มหนึ่ง ซึ่งท่านรู้จักทั้งนามและสถานภาพของเขา, แต่ท่านมีหน้าที่ปกปิดพวกเขาไปตามสภาพ«

คำตอบเชิงรายละเอียด

เกี่ยวกับเหตุผลที่ว่าท่านศาสดา (ซ็อลฯ) นิ่งเงียบในช่วงสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่ เมื่อเผชิญกับบรรดาพวกกลับกลอก ต้องกล่าวว่า :

1.ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) มีหน้าที่ปฏิบัติไปตามกฎเกณฑ์ภายนอก นอกจากนั้นท่านมิได้รับอนุญาตจากอัลลอฮฺ ให้ตรวจสอบบุคคลที่เป็นมุนาฟิกีน หรือแสดงท่าที่เข็มงวดกับพวกเขาอย่างเปิดเผย ดังที่บางตอนจากคำเทศนาเฆาะดีรกล่าวถึงโองการที่ว่า ..

«يا أَيُّهَا الَّذينَ أُوتُوا الْكِتابَ آمِنُوا بِما نَزَّلْنا مُصَدِّقاً لِما مَعَكُمْ مِنْ قَبْلِ أَنْ نَطْمِسَ وُجُوهاً فَنَرُدَّها عَلى‏ أَدْبارِها أَوْ نَلْعَنَهُمْ كَما لَعَنَّا أَصْحابَ السَّبْت‏»،

โอ้ บรรดาผู้ที่ได้รับคัมภีร์! จงมีศรัทธาต่อสิ่งที่เราได้ให้ลงมา เพื่อยืนยันสิ่งที่มีอยู่กับพวกเจ้าเถิด ก่อนที่เราจะลบใบหน้าของพวกเขา แล้วให้มันกลับไปอยู่ข้างหลัง หรือไม่ก็จะสาปพวกเขา เช่นเดียวกับที่เราได้สาปบรรดาผู้ที่ทำการละเมิดในวันเสาร์ และคําสั่งของอัลลอฮฺนั้นย่อมถูกปฏิบัติตามเสมอ[1]  ท่านกล่าวว่า »ขอสาบานต่ออัลลอฮฺว่า จุดประสงค์ของอัลลอฮฺ จากโองการนี้คือ เซาะฮาบะกลุ่มหนึ่ง ซึ่งฉันรู้จักพวกเขาทั้งชื่อและตระกูล แต่ฉันมีหน้าที่ต้องปกปิดพวกเขา«[2]

2. ต้องพิจารณาว่าเรื่องราวเกี่ยวกับท่านคิเฎรนั้น เป็นกรณียกเว้นพิเศษ ซึ่งไม่อาจนำมาเทียบได้กับทุกเรื่องราว ในยุคสมัยของอิมามมะอฺซูม (อ.) สิ่งเหล่านี้ก็เคยเกิดขึ้นเหมือนกัน ซึ่งอิมามทราบล่วงหน้าถึงความผิดพลาดของประชาชนบางคน ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต แต่ก่อนที่เหตุการณ์นั้นจะเกิด ท่านอิมามก็มิได้จัดการกับผู้ที่จะทำให้เหตุการณ์นั้นเกิดแต่อย่างใด แต่จะใช้วิธีโน้มน้าวเพื่อมิให้เขากระทำการนั้น อิมาม (อ.) ทราบดีว่าผู้ใดจะเป็นผู้สังหารท่าน เช่น  »อิมามอะลี (อ.) กับอิบนุมุลญิม« หรือ »อิมามฮะซัน (อ.) กับภรรยาของท่าน«

3.เรื่องราวท่านศาสดายะอฺกูบ (อ.) เช่นกันท่านได้ปฏิบัติตามกฎภายนอก ซึ่งท่านศาสดาทราบดีถึงความอิจฉาริษยาของบรรดาบุตรของท่านที่มีต่อบุตรอีกคนหนึ่ง กระนั้นท่านก็ยังอนุญาตให้ศาสดายูซุบ (อ.) ออกไปเล่น ณ ทะเลทราย จนกระทั่งถูกพี่ๆ จับโยนลงไปในบ่อน้ำ ซึ่งทำให้ท่านต้องแยกกับท่านศาสดายูซุบนานหลายปี[3]

4.อัลกุรอาน กล่าวว่า อัลลอฮฺทรงมีบัญชาแก่ท่านศาสดาว่า  »ดังนั้น เจ้าจงให้โอกาสแก่บรรดาผู้ปฏิเสธเถิด ข้าก็จะให้โอกาสแก่พวกเขาระยะหนึ่ง«[4] แล้วโอกาสเช่นนี้จะไม่ให้แก่บรรดามุสลิมผู้ปฏิบัติตามท่านศาสดา (ซ็อลฯ) บ้างเชียวหรือ

5.ถ้าหากท่านศาสดา (ซ็อลฯ) เผชิญหน้ากับพวกเขา ก่อนที่แผนการของพวกเขาจะถูกดำเนินต่อไป และวันนี้ก็จะไม่มีคำพูดว่า แล้วทำไมท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ก่อนที่จะดำเนินการไม่ประณาม หรือไม่ตักเตือนพวกเขาเสียก่อน ทำไมไม่ให้โอกาสพวกเขา บางทีพวกเขาอาจเปลี่ยนแปลงก็ได้ เป็นไปไม่ได้หรือเมื่อเวลาล่วงเลยผ่านไปพวกเขาจะลุแก่โทษ หรือสำนึกผิดในการงานของตน และเป็นไปได้ไหมที่จะลงโทษใครสักคนหนึ่งบนโลกนี้ เพียงแค่เขาคิดจะทำความผิดเท่านั้น และ ...

6. แน่นอน ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) ทราบดีถึงความอคติ และเปลวเพลิงแห่งการอาฆาตมาตรร้ายของพวกเขา ประกอบกับพวกกลับกลอกมีจำนวนมาก จึงไม่มีความเหมาะสมที่จะทำการอันใดที่เป็นอันตรายต่ออิสลาม ที่เพิ่งจะวางรากฐานใหม่ๆ

7.อาชญากรรมที่บรรดาวะฮาบีย์ ได้ก่อขึ้นทุกวันนั้น เมื่อพิจารณาตามหลักการของอะฮฺลิซซุนนะฮฺแล้ว ถือว่าไม่ถูกต้อง ไม่ได้รับการยอมรับ และถูกประณามอย่างหนัด สิ่งนี้โดยตัวของมันบ่งบอกให้เห็นถึงโองการที่กล่าวว่า “มวลผู้ศรัทธาเป็นพี่น้องกัน”[5] แต่พวกเขากระทำสิ่งที่สวนทางกัน พวกเขายังเข่นฆ่าพี่น้องมุสลิม สิ่งนี้แสดงให้เห็นว่ามุสลิมบางกลุ่มมิได้ใส่ใจต่อพื้นฐานกฎระเบียบ จึงได้กระทำทุกอย่างตามอำเภอใจ ดังที่กล่าวไปแล้วข้างต้น

ท้ายสุดจำเป็นต้องกล่าวว่า ถ้าหากจำเป็นต้องชี้แจงบางสิ่งแก่ประชาชน เกี่ยวกับอนาคตของอิสลาม และการตื่นตัวของมุสลิมละก็ ท่านศาดา (ซ็อล ฯ) ได้กระทำสิ่งนั้นแล้ว อีกด้านหนึ่งท่านศาสดา (ซ็อลฯ) มิให้สั่งให้กระทำสิ่งใดเกินเลยไปมากกว่านี้ บางทีอาจเป็นเพราะว่าสิ่งนั้นอาจเป็นอันตรายกับอิสลามก็ได้ ด้วยเหตุนี้ ท่านจึงมิได้กระทำมากไปกว่านี้ เพื่อรักษาอิสลาม สายตระกูล และอนุชนรุ่นหลังดำรงสืบต่อไป จนถึงวันหนึ่งซึ่งตัวแทนคนสุดท้ายของท่าน ได้ปรากฏตัวและดำเนินการตามหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายมาทำให้เป้าหมายแห่งการแต่งตั้งศาสดาสำเร็จสมบูรณ์

 


[1] นิซาอฺ, 47.

[2] อิบนุฏอวูส, อะลีบินมูซา, อัลยะกีน บิอิคติซอซิ เมาลานา อะลี อะลัยฮิสลาม บิอิมเราะอะติล มุอฺมีนีน, ค้นคว้าโดย อันซอรรียฺ ซันญานี คูอี, อิสลามอีล, หน้า 354, ดารุลกิตาบ, กุม, พิมพ์ครั้งแรก, ปี 1413.

[3] ยูซุบ, 11,12.

[4] ฏอริก, 17.

[5] ฮุจญฺรอต, 10.

 

แปลคำถามภาษาต่างๆ
ความเห็น
จำนวนความเห็น 0
กรุณาป้อนค่า
ตัวอย่าง : Yourname@YourDomane.ext
กรุณาป้อนค่า
<< ลากฉัน
กรุณากรอกจำนวนที่ถูกต้องของ รหัสรักษาความปลอดภัย

หมวดหมู่

คำถามสุ่ม

  • เซาบานมีบุคลิกเป็นอย่างไร? บรรดาอะฮฺลุลบัยตฺ (อ.) มีทัศนะอย่างไรเกี่ยวกับเขาและรายงานของเขา?
    6369 تاريخ بزرگان 2555/04/07
    “เซาบาน” ในฐานะที่ถูกกล่าวขานถึงว่าเป็น “เมาลาของท่านเราะซูล” ทั้งที่เขาคือทาสคนหนึ่ง ซึ่งได้รับความเป็นไทโดยการไถ่ตัวของท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) และหลังจากได้รับอิสรภาพแล้ว เขาได้กลายเป็นสหายของท่านศาสดา และเป็นผู้จงรักภักดีกับบรรดาอะฮฺลุลบัยตฺ (อ.) เกี่ยวกับความจงรักภักดีและความรักที่เขาทีต่อท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) และครอบครัวของท่านนั้น ตำราบางเล่มได้สาธยายถึงรายงานฮะดีซเกี่ยวกับเขาเอาไว้ ...
  • อิสลามมีบทบัญญัติอย่างไรเกี่ยวกับการโคลนนิ่ง?
    7591 สิทธิและกฎหมาย 2554/08/09
    การโคลนนิ่งโดยเฉพาะการโคลนนิ่งมนุษย์ถือเป็นประเด็นปัญหาใหม่จึงไม่อาจจะพบโองการกุรอานหรือฮะดีษที่ระบุเกี่ยวกับเรื่องนี้โดยตรงอย่างไรก็ดีผู้รู้และนักวิชาการชีอะฮ์ได้ใช้กระบวนการวินิจฉัยหลักฐานจากกุรอานและฮะดีษทำให้สามารถแสดงทัศนะเกี่ยวกับเรื่องนี้ซึ่งแบ่งออกเป็นสามทัศนะด้วยกัน
  • การคบชู้หมายถึงอะไร?
    8522 ฮุดู้ด,กิศ้อศ,ดิยะฮ์ 2557/05/22
    การซินา หมายถึง การมีเพศสัมพันธ์โดยผิดประเวณีกับหญิงอื่น ที่มิใช่ภรรยาตามชัรอีย์ (ภรรยาที่สมรสถาวร หรือชั่วคราว) การซินาในทัศนะอัลกุรอาน, ถือเป็นบาปใหญ่ อัลลอฮฺ ตรัสถึงการซินาไว้ว่า “จงอย่าเข้าใกล้การลอบผิดประเวณี เนื่องจากเป็นการลามกและทางอันชั่วช้ายิ่ง”[1],[2] การกระทำดังกล่าว ถ้ากระทำโดยหญิงมีสามี หรือชายมีภรรยาอยู่แล้ว เรียกว่า การเป็นชู้[3] แต่ถ้ามิได้เป็นไปในลักษณะดังกล่าวมา จะไม่ถือว่าเป็นการทำชู้ เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับบทบัญญัติของการซินา และการลงโทษที่จะติดตามมา อันถือว่าเป็นการกระทำที่น่ารังเกียจ และหน้าขยะแขยงยิ่งนี้ กรุณาศึกษาจากคำตอบต่อไปนี้ อย่างไรหรือที่เรียกว่า ซินา, 8243 (ไซต์ 8288) การลงโทษ และการลุแก่โทษ กรณีการทำชู้ 7159 (ไซต์ 7508) ฮุกุ่มของการซินากับหญิงมีสามี 2688 (ไซต์ ...
  • ท่านอิมามศอดิก(อ.)เคยมีอาจารย์ชาวอะฮ์ลิสซุนนะฮ์บ้างหรือไม่?
    5793 تاريخ کلام 2555/02/18
    หนึ่ง. ประเด็นนี้เป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากบรรดามะอ์ศูมีน(อ.)ล้วนมีความรู้ครอบคลุมทุกแขนงวิชาการอยู่แล้ว[1] ซึ่งไม่จำเป็นต้องศึกษาวิชาการอย่างวิชาฮะดีษจากผู้อื่น ในทางกลับกัน ผู้นำฝ่ายอะฮ์ลิสซุนนะฮ์บางท่านเคยเป็นลูกศิษย์ลูกหาของท่านทั้งทางตรงหรือทางอ้อม อาทิเช่น อบูฮะนีฟะฮ์ และมาลิก บิน อนัส[2]
  • ความสัมพันธ์ระหว่างพระประสงค์ของพระเจ้ากับความต้องการของมนุษย์เป็นอย่างไร
    5734 เทววิทยาดั้งเดิม 2553/12/22
    มนุษย์คือการมีอยู่อยู่ประเภทที่เป็นไปได้หมายถึงแก่นแท้แห่งการมีอยู่ของมนุษย์นั้นมาจากพระเจ้าพระเจ้าทรงรังสรรค์มนุษย์ขึ้นมาด้วยเจตนารมณ์เสรีและพระประสงค์ของพระองค์และด้วยความพิเศษนี้เองพระองค์ได้ทำให้เขามีความสูงส่งกว่าสิ่งมีชีวิตอื่นๆด้วยเหตุนี้มนุษย์คือสรรพสิ่งมีอยู่ที่ดีที่สุดพระองค์ทรงวางกฎหมายและมอบให้มนุษย์เป็นผู้ที่พระองค์กล่าวถึงอีกทั้งทรงอนุญาตให้มนุษย์สามารถตัดสินใจได้เองว่าจะเชื่อฟังปฏิบัติตามหรือจะปฏิเสธอนุญาตให้มนุษย์เลือกและจัดการกับชะตากรรมของพวกเขาเองและนี่คือมนุษย์เขาสามารถเลือกในสิ่งดีงาม
  • จะต้องชำระคุมุสกรณีของทุนทรัพย์ด้วยหรือไม่?
    4863 ทรัพย์สินที่ต้องชำระคุมุส 2555/04/16
    ทัศนะของบรรดามัรญะอ์เกี่ยวกับคุมุสของทุนทรัพย์มีดังนี้ ในกรณีที่บุคคลได้จัดหาทุนทรัพยจำนวนหนึ่ง แต่หากต้องชำระคุมุสจะไม่สามารถทำมาหากินด้วยทุนทรัพย์ที่คงเหลือได้ อยากทราบว่าเขาจะต้องชำระคุมุสหรือไม่? มัรญะอ์ทั้งหมด (ยกเว้นท่านอายะตุลลอฮ์วะฮีด และอายะตุลลอฮ์ศอฟี) ให้ทัศนะว่า หากการชำระคุมุสจำนวนดังกล่าวทำให้ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ (แม้จะชำระเป็นงวดก็ตาม) ถือว่าไม่จำเป็นต้องชำระคุมุสนั้น ๆ[1] อายะตุลลอฮ์ศอฟีย์และอายะตุลลอฮ์วะฮีดเชื่อว่าจะต้องชำระคุมุส แต่สามารถเจรจาผ่อนผันกับทางผู้นำทางศาสนา[2] ท่านอายะตุลลอฮ์นูรี, ตับรีซี, บะฮ์ญัตให้ทัศนะไว้ว่า ในส่วนของทุนทรัพย์ที่จำเป็นสำหรับการทำมาหากินนั้น ไม่จำเป็นจะต้องชำระคุมุส แต่หากมากกว่านั้น ถือว่าจำเป็นที่จะต้องชำระ[3] แต่ทว่าหากซื้อที่ดินนี้ด้วยกับเงินที่ชำระคุมุสแล้ว หรือได้ซื้อหลังจากปีคุมุสได้ผ่านพ้นไปแล้ว หรือได้ซื้อหลังจากปีคุมุสและขายไปก่อนที่จะถึงปีคุมุสหน้า ก็ไม่จำเป็นจะต้องชำระคุมุสแต่อย่างใด ทว่าหากได้กำไรจากการซื้อขายที่ดินดังกล่าว หากหลงเหลือจนถึงปีคุมุสถัดไปจำเป็นที่จะต้องชำระคุมุสด้วย
  • ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
    35947 ابلیس و شیطان 2555/08/22
    หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
  • ชาวสวรรค์และชาวนรกมีอายุราวๆกี่ปี?
    14703 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/19
    ความเปลี่ยนแปลงทางสรีระตามอายุขัยถือเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับโลกนี้ ทว่าในโลกหน้าโดยเฉพาะในสวรรค์ เราไม่อาจจะมโนภาพว่ามนุษย์จะมีรูปร่างหน้าตาที่แตกต่างกันในลักษณะที่บางกลุ่มเป็นเด็ก บางกลุ่มอยู่ในวัยกลางคน บางกลุ่มเป็นคนชราได้ แม้สมมุติว่าเราจะเชื่อว่าโลกหน้ายังเป็นโลกแห่งวัตถุ แต่ความแตกต่างในแง่อายุขัยอย่างที่เราเคยชินในโลกนี้ย่อมไม่เกิดขึ้นในโลกหน้าอย่างแน่นอน มีฮะดีษระบุว่าผู้ที่จะเข้าสรวงสวรรค์จะกลายเป็นวัยรุ่นที่มีรูปลักษณ์อันงดงาม یدخلون الجنة شبابا منورین و قال إن أهل الجنة جرد مرد مکحلون
  • การกระทำใดบ้างที่ส่งผลให้คนเราแลดูสง่ามีราศี?
    5509 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/28
    ในมุมมองของอิสลามความสง่างามแบ่งได้เป็นสองประเภทอันได้แก่ความงดงามภายนอกและภายใน.ปัจจัยที่สร้างเสริมความสง่างามภายในตามที่ฮะดีษบ่งบอกไว้ก็คือความอดทนความสุขุมความยำเกรง...ฯลฯ
  • เรื่องอุปโลกน์“เฆาะรอนี้ก”มีที่มาที่ไปอย่างไร?
    5970 การตีความ (ตัฟซีร) 2554/08/03
    เรื่องเล่า“เฆาะรอนี้ก”อุปโลกน์ขึ้นโดยผู้ไม่หวังดีซึ่งหวังจะลดทอนความน่าเชื่อถือของกุรอานและท่านนบี(ซ.ล.)ลง

เนื้อหาที่มีผู้อ่านมากที่สุด

  • อะไรคือหน้าที่ๆภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีบ้าง?
    57201 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/07
    ความมั่นคงของชีวิตคู่ขึ้นอยู่กับความรักความผูกพัน ความเข้าใจ การให้เกียรติและเคารพสิทธิของกันและกัน และเพื่อที่สถาบันครอบครัวจะยังคงมั่นคงเป็นปึกแผ่น อิสลามจึงได้ระบุถึงสิทธิของทั้งภรรยาและสามี ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดหน้าที่สำหรับทั้งสองฝ่ายไว้ด้วย เนื่องจากเมื่ออัลลอฮ์ประทานสิทธิ ก็มักจะกำหนดหน้าที่กำกับไว้ด้วยเสมอ ข้อเขียนนี้จะนำเสนอหน้าที่ทางศาสนาบางส่วนที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังต่อไปนี้:1. ...
  • ดุอาใดบ้างที่ทำให้ได้รับพรเร็วที่สุด?
    54898 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/07/03
    มีดุอาที่รายงานจากอิมาม(อ.)หลายบทที่กล่าวขานกันว่าเห็นผลตอบรับอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาดุอาทั้งหมด ณ ที่นี้ได้ จึงขอกล่าวเพียงชื่อดุอาที่มีความสำคัญเป็นพิเศษดังต่อไปนี้1. ดุอาตะวัซซุ้ล2. ดุอาฟะร็อจ
  • กรุณานำเสนอบทดุอาเพื่อให้ได้พบคู่ครองที่เหมาะสมและเปี่ยมด้วยตักวา
    40289 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/12
    ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีปัจจัยและเงื่อนไขจำเพาะตามที่พระเจ้าทรงกำหนดหากเราประสงค์สิ่งใดย่อมต้องเริ่มจากการตระเตรียมปัจจัยและเงื่อนไขเสียก่อนปัจจัยของการแต่งงานคือการเสาะหาและศึกษาอย่างละเอียดทว่าเพื่อความสัมฤทธิ์ผลในการดังกล่าวจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์เพื่อทรงชี้นำการตัดสินใจและความพยายามของเราให้บรรลุดังใจหมาย.การอ่านบทดุอาต่างๆที่รายงานจากบรรดาอิมาม(อ)ต้องควบคู่กับความพยายามศึกษาและเสาะหาคู่ครองอย่างถี่ถ้วน. หนึ่งในดุอาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คือรายงานที่ตกทอดมาจากท่านอลี(อ)ดังต่อไปนี้: “ผู้ใดประสงค์จะมีคู่ครอง
  • ครูบาอาจารย์และลูกศิษย์(นักเรียนนักศึกษา)มีหน้าที่ต่อกันอย่างไร?
    37382 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/11/14
    ผู้สอนและผู้เรียนมีหน้าที่ต่อกันหลายประการด้วยกันซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นสองส่วนก. หน้าที่ที่ผู้สอนมีต่อผู้เรียนอันประกอบด้วยหน้าที่ทางจริยธรรมการอบรมและวิชาการ ข. หน้าที่ที่ผู้เรียนมีต่อผู้สอนอาทิเช่นการให้เกียรติครูบาอาจารย์ยกย่องวิทยฐานะของท่านนอบน้อมถ่อมตน ...ฯลฯ ...
  • ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
    35947 วิทยาการกุรอาน 2555/08/22
    หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
  • ก่อนการสร้างนบีอาดัม(อ) เคยมีการแต่งตั้งญินให้เป็นศาสนทูตสำหรับฝ่ายญินหรือไม่?
    32341 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/06/12
    อัลกุรอานยืนยันการมีอยู่ของเหล่าญินรวมทั้งได้อธิบายคุณลักษณะบางประการไว้ถึงแม้ว่าข้อมูลของเราเกี่ยวกับโลกของญินจะค่อนข้างจำกัดแต่เราสามารถพิสูจน์ว่าเหล่าญินเคยมีศาสนทูตที่เป็นญินก่อนการสร้างนบีอาดัมโดยอาศัยเหตุผลต่อไปนี้:1. เหล่าญินล้วนมีหน้าที่ทางศาสนาเฉกเช่นมนุษย์เราแน่นอนว่าหน้าที่ทางศาสนาย่อมเป็นผลต่อเนื่องจากการสั่งสอนศาสนาด้วยเหตุนี้จึงมั่นใจได้ว่าอัลลอฮ์ทรงเคยแต่งตั้งศาสนทูตสำหรับกลุ่มชนญินเพื่อการนี้2. เหล่าญินล้วนต้องเข้าสู่กระบวนการพิพากษาในวันกิยามะฮ์เฉกเช่นมนุษย์เราซึ่งโดยทั่วไปแล้วก่อนกระบวนการพิพากษาทุกกรณีจะต้องมีการชี้แจงข้อกฏหมายจนหมดข้อสงสัยเสียก่อนและการชี้แจงให้หมดข้อสงสัยคือหน้าที่ของบรรดาศาสนทูตนั่นเอง
  • เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
    26649 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/03/08
    ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
  • ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
    26005 การตีความ (ตัฟซีร) 2553/12/22
    เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม (อ.) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้กราบสุญูดอาดัมแต่ซาตานไม่ได้ก้มกราบบางคนกล่าวว่าชัยฎอน (อิบลิส) เป็นมะลาอิกะฮฺ, โดยอ้างเหตุผลว่าเนื่องจากโองการอัลกุรอานกล่าวละเว้น, อิบลิสไว้ในหมู่ของมะลาอิกะฮฺ (มะลาอิกะฮ์ทั้งหมดลดลงกราบยกเว้นอิบลิส) ดังนั้นอิบลิส
  • อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
    25835 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/07
    ในแวดวงวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้นบ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวาอีหม่านและอะมั้ลที่ศอลิห์
  • เมื่ออัลลอฮฺ มิทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายจากสิ่งใดทั้งหมด, หมายความว่าอำนาจของพระองค์ได้ถ่ายโอนไปสู่วัตถุปัจจัยกระนั้นหรือ?
    24107 รหัสยทฤษฎี 2555/05/17
    ใช่แล้ว การสร้างจากสิ่งไม่มีตัวตนมีความหมายตามกล่าวมา, เนื่องจากคำว่า ไม่มีตัวตน คือไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งอัลลอฮฺ ทรงสร้างสิ่งนั้นขึ้นมา รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้เช่นกันว่า อำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า มีความเป็นหนึ่งเดียวกันกับคุณลักษณะอื่นของพระองค์ ซึ่งเกินเลยอำนาจความรอบรู้ของมนุษย์ เนื่องจากสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลายได้ถูกสร้างขึ้นมา จากสิ่งไม่มี ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย เปรียบเสมือนภาพที่ถ่ายโอนอำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า เราเรียกนิยามนี้ว่า “การสะท้อนภาพ”[1]ซึ่งในรายงานฮะดีซได้ใช้คำว่า “การเกิดขึ้นของคุณลักษณะ” : อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงเป็นพระผู้อภิบาลของเราที่มีความเป็นนิรันดร์ ความรอบรู้คือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีความรอบรู้อันใด การได้ยินคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการได้ยินใดๆ การมองเห็นคือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการมองเห็นอันใด อำนาจคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีอำนาจอันใด และเนื่องจากพระองค์คือ ผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้สิ่งเหล่านั้นมีและเป็นไป ความรู้ของพระองค์ได้ปรากฏบนสิ่งถูกรู้จักทั้งหลาย การได้ยิน ได้ปรากฏบนสิ่งที่ได้ยินทั้งหลาย การมองเห็นได้ปรากฏบนสิ่งมองเห็น และอำนาจของพระองค์ ...